Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศาสนากับจริยศาสตร์ และกฎหมายวิชาชีพการพยาบาล, ผู้ป่วยติดเตียง3,…
ศาสนากับจริยศาสตร์
และกฎหมายวิชาชีพการพยาบาล
ความสัมพันธ์ของจริยศาสตร์
กับวิทยาศาสตร์และศาสนา
จริยศาสตร์กับวิทยาศาสตร์
จริยศาสตร์ เป็นศาสตร์หนึ่งของปรัชญาใช้หลักเหตุผลมีความเห็นอกเห็นใจ เน้นเรื่องความดี ความเหมาะ ความควร
วิทยาศาสตร์ จะอธิบายข้อเท็จจริง เกี่ยวกับโรคที่เกิดขึ้น เป็นเรื่องข้อเท็จจริง
จริยศาสตร์กับจิตวิทยา
จิตวิทยา วิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ต่อสถานการณ์ จิตวิทยาจะต้องตั้งอยู่บนหลักจริยธรรมคือ การเคารพความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
วิทยาศาสตร์กับพุทธศาสนา
พุทธศาสนาและวิทยาศาสตร์ มีเป้าหมายเดียวกันคือ หาวิธีทางให้มนุษย์พ้นทุกข์และแสวงหาความจริงตามธรรมชาติ
วิทยาศาสตร์ เน้นกายภาพเช่น กฎของนิวตัน ทำให้เกิดการสร้างรถยนต์ สร้างเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ
ศาสนาพุทธ เน้นจิต พุทธศาสนาเชื่อว่าสัจธรรมชั้นสูงสุดคือ มรรค ผลนิพพาน ไม่อาจจะรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัส รู้ได้ด้วยปัญญินทรีย์
ศาสนา(ศีล)กับกฎหมาย
กฏหมาย ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนก็จะมีสภาพบังคับเกิดขึ้น ทันที เช่น ถ้าฆ่าคนตาย ก็จะถูกจำคุกตลอดชีวิต เป็นต้น
ศาสนา ไม่มีสภาพบังคับไว้แน่นอน แต่หากผู้ใด ฝ่าฝืนข้อบังคับทางศาสนาก็มักจะถูกสังคมที่นับถือศาสนานั้นๆ รังเกียจไม่คบหาสมาคมด้วย
ศีล5 ข้อ
5.สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
3.กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
2.อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศาสนากับจริยศาสตร์
ศาสนา แปลว่าข้อผูกพันระหว่างชีวิตมนุษย์และความจริงสูงสุดที่มนุษย์เชื่อ ตามวัฒนธรรมประเพณีและศาสนา
ศาสนาพุทธกับจริยธรรม
เป้าหมายสูงสุดโลกุตระ ระดับกิเลสรู้แจ้งนิพพาน
เป้าหมายสูงสุดโลกียะ เข้าใจเรื่องทุกข์เอาชนะความทุกข์
ความจริงสูงสุดในพุทธศาสนา
กฏไตรลักษณ์
เป็นกฎสำคัญแห่งธรรมชาติ
ซึ่งมีลักษณะ ๓ อย่าง คือ
๑. อนิจจัง ความไม่เที่ยง
๒. ทุกขัง ความทนอยู่ไม่ได้
๓. อนัตตา ความไม่ใช่ตัวตน
อริยสัจ 4
ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ
อันเป็นหลักคำสอนสำคัญ
ของพระพุทธศาสนา มีดังนี้
ทุกข์ คือ ความจริงที่ว่าด้วยความทุกข์
สมุทัย คือ ความจริงที่ว่าด้วยเหตุให้เกิดทุกข์
นิโรธ คือ ความจริงที่ว่าด้วยความดับทุกข์
มรรค คือความจริงที่ว่าด้วยทางแห่งความดับทุกข์
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้น และดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน
สภาวะที่ได้ดับกิเลสทั้งหมดแล้ว โดยที่กิเลสไม่สามารถกำเริบอีก และอยู่ในสภาวะ ไม่สุข ไม่ทุกข์ เพราะเข้าใจความจริงของโลกอย่างแจ่มแจ้ง อารมณ์ไม่ผันแปรไปตามโลกอีก และไม่เกิดอารมณ์ปรุงแต่งในเรื่องใดๆอีกต่อไป เพราะเข้าใจธรรมชาติทุกอย่างด้วยความเป็นจริงแล้ว
แก่นหรือสาระสำคัญของคำสอน
รูป ได้แก่ ร่างกาย พฤติกรรม สสาร พลังงาน
เวทนา ได้แก่ ความรู้สึกสุขทุกข์หรือเฉย
วิญญาณ ได้แก่ ความรู้แจ้งทางอารมณ์
สัญญา ได้แก่ การกำหนดหรือหมายรู้
สังขาร ได้แก่ องค์ประกอบต่างๆของจิตเช่นความรักความคิดเมตตา
ศาสนาพุทธกับจริยธรรมพื้นฐาน
ศีล 5: เว้นจากการทำลายชีวิตเว้นจากการถือเอาของที่เขาไม่ได้ให้เว้นจาก ประพฤติผิดในกาม เว้นจากการพูดเท็จ เว้นจากการเมาสุรา
ธรรม 5: เมตตา กรุณา สัมมาอาชีพ กามสังวร สัจจะ สติสัมปชัญญะ
ศาสนาพุทธกับจริยศาสตร์ชั้นกลาง
กายกรรม 3: การทำลายชีวิต เอาของผู้อื่นมาเป็นของตน ประพฤติผิดในกาม
มโนกรรม 3: คิดดี ดำเนินการตามธรรมนองคลองธรรม
วจีกรรม 4: พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ.
ศาสนาพุทธกับจริยธรรมชั้นสูง
ปฏิบัติตามมรรคมีองค์ 8
สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ
สัมมาวาจา เจรจาชอบ
สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ
สัมมาสติ ระลึกชอบ
สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ คิดชอบ
สัมมาวายามะ เพียรชอบ
สัมมากัมมันตะ ประพฤติชอบ
สัมมาสมาธิ จิตมั่นชอบ
ศาสนาพุทธ เป็นศาสนาตามหลักวิทยาศาสตร์ ยึดเกิดผลเข้าใจการ เกิด แก่ เจ็บ ตายและการมีสติ
ศาสนาอิสลาม มีความเชื่อหลักนิติกรรม
ศาสนาคริสต์ ศาสนาเกี่ยวกับความเชื่อ ความรัก ความศรัทธา
ภาพลักษณ์ของ
วิชาชีพการพยาบาล
ภาพลักษณ์ของพยาบาล จะส่งผลต่อทัศนคติวิชาชีพการพยาบาลตลอดเวลาที่สังคมมองและรับรู้อยู่นั้น หากภาพดีก็จะประทับใจผู้ที่กำลังมองอยู่ ภาพลักษณ์ของพยาบาลก็เช่นกันหากมีภาพลักษณ์ที่ที่ผู้คนก็จะเคารพนับถือและเชื่อในการดูแล
หลักศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลามและซิกส์ กับวิชาชีพการพยาบาล
หลักศาสนาที่นำมาใช้ในวิชาชีพการพยาบาล
พรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
อิทธิบาท 4 ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา
อริยสัจ 4 ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
คริสเตียนกับวิชาชีพการพยาบาล
แพทย์ พยาบาลพึงทำหน้าที่ของตนในการรักษาชีวิตมนุษย์และต้องเป็นไปตามปกติ
ผู้ป่วยพึงอดทน ต่อความเจ็บป่วย
เมื่อ ป่วยไข้ พระเจ้าจะคุ้มครอง
ให้คุณค่าและเคารพต่อชีวิตมนุษย์
อิสลามกับวิชาชีพการพยาบาล
จงไว้ใจในพระเจ้า
ชีวิตมนุษย์ความเป็นความตายเป็นไปตามพระประสงค์ของพระอัลเลาะห์
การทำลายชีวิตมนุษย์และฆ่าตัวตายเป็นบาป
ดูแลร่างกายกับการช่วยเหลือด้านจิตใจ สงบมีความสำคัญเท่าเทียมกัน
ศาสนาซิกส์
5 สิ่งที่ผู้นับถือศาสนาซิกข์ต้องมีติดตัวตลอดเวลา ประกอบด้วย
-เกศา(Kesh) ผมที่ไม่ถูกตัด
-กังค่า(Kanga) หวีไม้
-การ่า(Kara)กำไลโลหะ
-กาแชร่า(Kachera) กางเกงขาสั้นทำจากผ้าฝ้าย 100% ใส่เป็นกางเกงชั้นใน
-กิรปาน(Kirpan)ดาบสั้นหรือมีดสั้นไว้ป้องกันตนเอง
หลักศาสนามาประกอบวิชาชีพ
1.ทุนทางใจ 2.รักษาคนไข้เรียนรู้จากคนไข้ 3. กำไรอันยิ่งใหญ่ในการรักษาคนไข้คือการพัฒนาตนเอง 4.ตัวเองเต็มที่แล้วถึงทำเพื่อคนอื่นได้ 5. รักษาคนไข้ ได้ต้องรักษาความสัมพันธ์กับคนในโลกได้
B6129378 นางสาวจุฑารัตน์ ศรีขันตรี เลขที่36 Sec2 :forbidden: :red_flag: :warning: