Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ (การบริหารงานบุคคล) - Coggle…
หลักการบริหารและพัฒนาองค์การ (การบริหารงานบุคคล)
ความหมายของการบริหารงานบุคคล
การบริหารงานบุคคล (Personnel Management) เป็นกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งกำลังคนที่เหมาะสมที่สุดกับงาน และใช้ทรัพยากรกำลังคนนั้นให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดตามเป้าหมายที่องค์การได้กำหนดไว้
ความสำคัญของการบริหารงานบุคคล
ความสำคัญของการบริหารงานบุคคล
การบริหารงานบุคคลเป็นกลจักรสำคัญมากประการหนึ่ง ที่จะส่งผลให้เกิดความสำเร็จของงานตามจุดมุ่งหมายขององค์การ วัตถุประสงค์ของการบริหารงานบุคคล
๓. เพื่อรักษาไว้ (maintenance) ซึ่งบุคคลให้ทำงานกับองค์การนานๆ
๔. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี (relationships) ของบุคคลกลุ่มต่างๆขององค์การ
๒. เพื่อใช้ประโยชน์ (utilization) ของบุคคลอย่างเต็มกำลังในการทำงาน
๕. เพื่อพัฒนาทักษะและเสริมสร้างความสามารถของบุคลากรให้มีสมรรถภาพเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง(development)
๑. เพื่อสรรหาและเลือกสรร (recruitment and selection) ให้ได้บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ
หลักการบริหารงานบุคคล
๑. ระบบคุณธรรม (Merit System)
๑.๑ หลักความเสมอภาค (equality of opportunity) ผู้มีความรู้ความสามารถ และมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ย่อมมีสิทธิ์และโอกาสเท่ากันในการแข่งขันเข้ามาทำงาน
๑.๒ หลักความสามารถ (Competency) เป็นการพยายามคัดเลือกให้ได้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับตำแหน่งมากที่สุด
๑.๓ หลักความมั่นคง (Security of tenure) ความมั่นคงในงาน ย่อมมีความสำคัญต่อผู้ปฏิบัติมาก ข้าราชการจะมีความมั่นคงสูง แม้จะเงินเดือนน้อยกว่าภาคเอกชน แต่ยังคงได้รับความนิยมเข้ารับข้าราชการ
๑.๔ หลักการเป็นกลางทางการเมือง (Political neutrality) มุ่งเน้นที่ข้าราชการมากกว่าวงการธุรกิจ
๒. ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) เป็นระบบการบริหารงานบุคคลที่ตรงข้ามกับระบบคุณธรรม ส่วนใหญ่จะยึดถือหลักพวกพ้อง เครือญาติ หรือมีผู้อุปการะ
การวางแผนกำลังคน (Manpower Planning)
๒. การตรวจสภาพกำลังคน
๓. การพยากรณ์ความต้องการกำลังคน
๑. การศึกษานโยบายและแผนขององค์กร
การสรรหาบุคคล และการบรรจุแต่งตั้ง
๑. การสรรหาจากภายนอกหน่วยงาน
๒. การสรรหาจากหน่วยงานเดียวกัน ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับความนิยม
ขั้นตอนการสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง
การประกาศรับสมัคร, การสัมภาษณ์เบื้องต้น, การยื่นใบสมัครการทดสอบการปฏิบัติงาน, การสอบสัมภาษณ์, การตรวจสอบภูมิหลัง, การคัดเลือกขั้นต้นของฝ่ายการเจ้าหน้าที่, การตัดสินใจของหัวหน้างาน, การตรวจร่างกาย, การบรรจุแต่งตั้ง
ความสำคัญของการบริหารงานบุคคล
ความสำคัญของการบริหารงานบุคคล
การบริหารงานบุคคลเป็นกลจักรสำคัญมากประการหนึ่ง ที่จะส่งผลให้เกิดความสำเร็จของงานตามจุดมุ่งหมายขององค์การ วัตถุประสงค์ของการบริหารงานบุคคล
๓. เพื่อรักษาไว้ (maintenance) ซึ่งบุคคลให้ทำงานกับองค์การนานๆ
๔. เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี (relationships) ของบุคคลกลุ่มต่างๆขององค์การ
๒. เพื่อใช้ประโยชน์ (utilization) ของบุคคลอย่างเต็มกำลังในการทำงาน
๕. เพื่อพัฒนาทักษะและเสริมสร้างความสามารถของบุคลากรให้มีสมรรถภาพเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง(development)
๑. เพื่อสรรหาและเลือกสรร (recruitment and selection) ให้ได้บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ