Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก(infertility), จิราภา แก้วชุมพล เลขที่ 14 รหัส613601015 Sec…
ภาวะมีบุตรยาก(infertility)
ภาวะมีบุตรยาก
แบบปฐมภูมิ (Primary infertility) การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์หลังจากที่ได้พยายามแล้วนานกว่า 12เดือน
แบบทุติยภูมิ(secondary infertility) การมีุตรยากที่ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อน อาจแท้งหรือคลอดก็ตามแต่หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลย
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
คู่สมรสที่มีบุตรยากได้รับการตรวจหาสาเหตุของการมีบุตรยากจนครบตามมาตรฐานแล้ว
การรักษาภาวะมีบุตรยาก
การรักษาแบบขั้นต้น ไม่เสียค่าใช้จ่ายมาก
การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธุ์
การกระตุ้นไข่
การผสมเทียม เป็นการใช้เครื่องมือฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปภายในอวัยวะสืบพันธุ์ของสตรี
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง intra-uterrine insemmination(IUI)
การนำน้ำอสุจิที่ได้คัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่ โดยแพทย์จะใช้ยากระตุ้นให้มีการตกไข่มากก่า1ใบเพื่อเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์
วิธีการนี้ไม่เหมาะสมกับผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีพังผืดขวางทาง ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อมดลูกเจริญผิดที่และผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิเช่น มีจำนวนน้อย เคลื่อนไหวผิดปกติ
วิทยาการช่วยเหลือการมีบุตร(ART)
การกระตุ้นกาตกไข่ โดยการให้GnRH เป็นระยะ
การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
GIFT การนำไข่และอสุจิไปใส่ในท่อนำไข่หลังจาการกระตุ้นไข่เพื่อชักนำให้ไข่สุขหลายใบ
การนำเอาไข่ออกมาเลือกที่สมบูรณ์แล้วนำอสุจิและเซลล์ไข่ ใส่เข้าไปในท่อนำไข่
ZIFT
คล้ายกับการทำเด็กหลอดเก้ว
ไข่และอสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วจะถูกนำมาผสมกันและเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ
IVF การปฏิสนธินอกร่างกายและการย้ายตัวอ่อนหรือทั่วไปเรียกเด็กหลอดเเก้ว การทำคล้ายกับGIFT แต่ไข่และอสุจิจะถูกนำมาผสมกันเพื่อให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกาย
การเก็บไข่ แทงเข็มผ่านทางช่องคอดเข้าสู่รังไข่โดยตรง
การเก็บสเปิร์ม การหลั่งภายนอก เลือกสเปิร์มที่เเข็งแรงเท่านั้น
ข้อบ่งชี้
ความผิดปกติของปากมดลูก/ความผิดปกติของการตกไข่
มีเยื่อพังผืดในอุ้งเชิงกราน ขัดขวางการเดินทางของไข่สู่โพรงมดลูก
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่/ท่อนำไข่ตีบตัน
Micromanipulation
วิธีการรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยาก มักจะมีปัญหาทางด้านเชื้ออสุจิจำนวนน้อยมาก ไม่เคลื่อนไหว
อิ๊กซี่ (ICSI)
การฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรง ซึ่งทำภายใต้กล้แงขยายกำลังสูง
ICSI
การนำชื้ออสุจิเพียงหนึ่งตัวเจาะใส่เข้าOoplasm
ข้อบ่งชี้
ตัวอสุจิน้อยมาก
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี
ตัวอสุจิมีรูปร่างผิดปกติ
คู่สมรสที่ผ่านการทำการปฏิสนธินอกร่างกายแล้ว ตัวอสุจิกับไข่ไม่สามารถปฏิสนธิกันได้
เป็นวิธีที่เหมาะสมกับผู้ที่มีปัญหาจำนวนอสุจิน้อยมากหรืออสุจิมีโครงสร้างผิดปกติมาก
สาเหตุ
ฝ่ายชาย(Male infertility)
เชื้ออสุจิน้อย มีรูปร่างผิดปกติ
Sexual factors พบร้อยละ 10
ภาวะด้านจิตใจ
ภาวะทางจิตใจ
ความเครียด
วิตกกังวล
ความสามารถในการมีบตร
หญิงอายุ 21-25 สามารถมีบุตรได้สูง
ชายอายุมากกว่า55 อสุจิมีความผิดปกติมากขึ้น
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ อสุจิที่สร้างใหม่จะมีคุณภาพดีและแข็งแรง ความถี่ที่เหมาะสมคือ2-3ครั้งต่อสัปดาห์
วินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
ประวัติกรมีประจำเดือน
การผ่าตัด
การแต่งงานและการมีบุตร
การมีเพศสัมพันธุ์/การคุมกำเนิด
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจโรคทางอายุรกรรม
การตรวจต่อมไร้ท่อ
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
ตรวจเยื่อพรหมจารีและช่องคลอด
คอมดลูก
PV ดูลักษณะทางกายวิภาค
ตัวมดลูก
ท่อนำไข่
การประเมินท่อนำไข่ มดลูกและอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
สาเหตุ
ภาวะมีบุตรยากส่วนใหญ่ของภาวะอุกกั้นของท่อนำไข่มักเกิดภายหลังการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไส้ติ่งอักเสบ
การวินิจฉัย
Hystersalpingogram
การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซ์เรย์
Endoscopy
Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
Hysterroscopy
ตรวจโพรงหมดลูก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
การตรวจฮอร์โมน
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
วัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในกระแสเลือดที่กึ่งกลางระยะลูเทียล ซึ่งตรวจในช่วงประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนประจำเดือนมา
มากกว่า 5 µ/dl จะเท่ากับมีการตกไข่
มากกว่า10 µ/dl จะเท่ากับมีการตกไข่และคอร์ปัสลูเตียมทำงานปปกติ
การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูก
การตรวจวัด basal body temperature เป็นการวัดอุณห๓ูมิเพื่อหาวันตกไข่
การตรวจการทำงานของอสุจิ
การทำ Post coital test
เพื่อดูมูกี่ปากมดลูก ความสามารถของอสุจิในการว่ายผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูก
ดูดมูกจากช่องคอมดลูกและยืดดู ช่วงการตกไข่มูกจะใสและยืด ถ้ามีความยาวมากกว่าหรือเท่ากับ10 เซนติเมตรเมื่อปล่อยให้แห้งจะตกผลึกเป็นรูปใบเฟิร์น แปลว่ามีการตกไข่
พบอสุจิเคลื่อนไหวไปข้างหน้าเกิน 5ตัว/HPF แปลว่าอสุจิว่ายผ่านมูกขึ้นไปได้
พบอสุจิแต่ไม่มีการเคลื่อนไหว อาจแสดงถึงการอักเสบของปากมดลูก
การวินัจฉัยภาวะมีบุตรอยากในเพศชาย
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
โรคคางทูม
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธุ์
โรคเบาหวาน
ลักษณะนิสัย เช่น สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
รูปแบบการดำเนินชีวิต ลักษณะนิสัยส่วนตัว
การได้รับยา สารเคมี รังสี
การมีเพศสัมพันธุ์ ความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป การตรวจระบบสืบพันธุ์
หนังหุ้มปลายองคชาติ ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะ รูปร่างอัณฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด การตรวจฮอร์โมน การตรวจน้ำอสุจิ
ค่าปกติของน้ำอสุจิ
ปริมาณน้ำเชื้อ 2ccหรือมากกว่า
ความเป็นกรด-ด่าง(pH) 6-8
จำนวนอสุจิต่อซีซี(Count/cc) 20ล้านตัว/ซีซี
การเคลื่อนไหว(Motility) 50%หรือมากกว่า
ลักษณะรูปร่าง (Morphoiogy) 50%ปกติหรือมากกว่า
การมีชีวิต(Viability) 50%ปกติหรือมากกว่า
การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ
ปริมาตรมากกว่าหรือเท่ากับ2มิลลิลิตร
ความหนาแน่นของตัวอสุจิ มากกว่าหรือเท่ากับ20ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
จำนวนของตัวอสุจิทั้งหมด มากกว่าหรือเท่ากับ40ล้านตัว
การเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ50 มีการเคลื่อนไหวไปข้างหน้า
รูปร่าง ลักษณะ มากกว่าเท่ากับร้อยละ14มีรูปร่างปกติ
จำนวนเม็ดเลือดขาว น้อยกว่า1ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
ความเป็นกรดด่าง 7.2หรือมากกว่านั้น
การมีชีวิตมากว่าหรือเท่ากับร้อยละ75
การตรวจอสุจิ
งดมีเพศสัมพันธุ์ก่อนวันตรวจ 2-7วัน
ส่งอสุจิิส่งตรวจภายใน1ชั่วโมงภายหลังที่เก็บได้
ใส่ภาชนะที่เตรียมไว้ให้เท่านั้น
ไม่แนะนำให้มีเพศสัสพันธุ์ก่อนแล้วหลั่งนอก
จิราภา แก้วชุมพล เลขที่ 14 รหัส613601015
Sec A