Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เคส Gall stones c Acute cholecystitis นิ่วในถุงน้ำดีร่วมกับถุงน้ำดีอักเ…
เคส Gall stones c Acute cholecystitis นิ่วในถุงน้ำดีร่วมกับถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 1 วิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัดและการปฏิบัติตัว
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความจำเป็นในการผ่าตัด และขั้นตอนต่าง ๆ ในการผ่าตัด รวมทั้งการให้ความมั่นใจกับผู้ป่วย
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกต่าง ๆ และซักถามข้อสงสัย โดยพยาบาลเป็นผู้ฟังที่ดี
ให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลและให้กำลังใจผู้ป่วย
4.เมื่อผู้ป่วยพร้อม สอนและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
ก่อนผ่าตัด
งดอาหารและน้ำดื่มทุกชนิดทางปากหลังเที่ยงคืนก่อนทำการผ่าตัด ถึงวันที่ทำการผ่าตัด
ต้องรับการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC, BUN Cr, LFT,electrolyte Ca Mg
ส่งตรวจพิเศษ CT abdomen
อาบน้ำ สระผมให้สะอาด ตัดเล็บมือเล็บเท้าให้สั้น ผู้ชายโกนหนวด เครา
รักษาความสะอาดของ ช่องปาก งดสูบบุหรี่ และเคี้ยวหมาก
ไม่ใส่เครื่องประดับทุกชนิด และกาย อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ฟันปลอมชนิดถอดได้ สร้อย แหวน
ให้สวนปัสสาวะ คืนก่อนทำผ่าตัด
เซ็นใบอนุญาตยินยอมรับการรักษาโดยการผ่าตัด
หลังผ่าตัด
ได้รับสารน้ำสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ได้รับยา
ได้รับออกซิเจน
การฝึกการหายใจลึกๆหรือการหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อซี่โครง( Deep Breathing Exercise)
การเคลื่อนไหวร่างกายหลังผ่าตัด การพลิกตัว การพลิกตะแคงซ้ายและขวา สามารถทำได้เลยเมื่อรู้สึกตัวและควรพลิกตะแคงตัวเองอย่างน้อย ทุกๆ 2 ชั่วโมง
ดูแลวางสายระบายไม่ให้หักพับงอ ติดพลาสเตอร์หรือใช้ตัวหนีบของขวด Jackson pratt drainหนีบกับเสื้อเพื่อยึดสายให้อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมจัดสายท่อระบายให้ตึงพอดีไม่ไม่ดึงรั้ง
ประเมินการทำงานของท่อระบาย ต้องให้เป็นความดันลบหรือสุญญากาศตลอดเวลา
วิธีการลุกนั่ง/ลุกจากเตียงอย่างถูกวิธี
ภาวะหลังผ่าตัด อาจมีไข้ ท้องอืด
สามารถกลับบ้านไปพักฟื้นประมาณ 1 สัปดาห์ ก็สามารถทำกิจกรรมด้วยตัวเองได้เกือบปกติ
ถ้ามีอาการผิดปกติอื่นๆ กรุณาแจ้งแพทย์ หรือพยาบาลที่ดูแลทราบ
สรุปการประเมินผล
ผู้ป่วยมีสีหน้ายิ้มแย้มและผ่อนคลาย
ผู้ป่วยสามารถอธิบาย และบอกการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัดได้ถูกต้อง
ให้ความร่วมมือในการรับการรักษาอย่างดี ถาม-ตอบ ให้ข้อมูลได้
เกณฑ์การประเมินผล
สังเกตสีหน้าของผู้ป่วย ยิ้มแย้ม ผ่อนคลาย
ผู้ป่วยอธิบาย และบอกการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัดได้ถูกต้อง
ให้ความร่วมมือในการรับการรักษา
เป้าหมายของการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวลและเข้าใจแผนการรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 2 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด 24 ชั่วโมงแรก ได้แก่การเกิด bleeding ปอดแฟบ การพร่องออกซิเจน ท้องอืด
เป้าหมายของการพยาบาล
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดใน 24 ชั่วโมงแรก
เกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ T 36.5 - 37.4 ˚C P 60 – 100 ครั้ง/นาที R 16-24 ครั้ง/นาที BP 90-140/60-90 mmHg O2 sat 95 – 100 %
ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน เช่น หายใจเหนื่อยหอบ ชีพจรเร็ว ปลายมือ ปลายเท้า เยื่อบุผิวหนัง ลักษณะการซีด
ไม่มีอาการท้องอืด
ท่อ Jackson drain มีสารคัดหลั่งในขวดdrain ไม่เกิน 200 ซีซีต่อชั่วโมง
การวางแผนการพยาบาล
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยเมื่อแรกรับ
ตรวจวัดสัญญาณชีพโดย วัดทุก 15 นาที X 4ครั้ง ทุก 30 นาที X 4ครั้ง เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงให้วัดทุก1ชั่วโมง และทุก1 ชั่วโมงโมง X 4ครั้ง หรือจนกว่าจะคงที่ /ตามแผนการรักษา
สังเกตแผล การซึมของเลือด หากมีเลือดมากให้รายงานหัวหน้าเวรเพื่อรายงานแพทย์ ประเมินการไหลเวียนของโลหิต โดยสังเกต ริมฝีปาก ผิวหนัง และสีเล็บ
4.ประเมินระดับความเจ็บปวด
5 . ตรวจดูระบบทางเดินหายใจว่าหายใจโล่งสะดวกดีหรือไม่ ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
6.เช็ดตัวลดไข้ให้ผู้ป่วย
7.ล้างแผลและประเมินแผล
ประเมินและบัน ทึกจำนวนปัสสาวะเมื่อแรกรับจากห้องผ่าตัดและลงบันทึกจำนวนสารละลายที่ได้รับจากห้องผ่าตัด ดูแลการใส่คาสายสวนปัสสาวะ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
สรุปการประเมินผล
สัญญาณชีพ T 38.2 ˚C P88 ครั้ง/นาที R 30 ครั้ง/นาที BP 146/90 mmHg
O2 sat 94 %
มีอัตราการหายใจเร็ว
อืดแน่นท้องเล็กน้อย
ท่อ Jackson drain มีสารคัดหลั่งในขวดdrain 20 ซีซี แผลมีเลือดซึม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 4 เสี่ยงเกิดอันตรายเนื่องจากการติดเชื้อในช่องท้อง
เป้าหมายของการพยาบาล
ไม่เกิดอันตรายจากการติดเชื้อในช่องท้อง
การวางแผนการพยาบาล
1.ประเมินสภาพผู้ป่วย วัดสัญญาณชีพทุกๆ4ชั่วโมง ทดสอบระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
ประเมิน abdominal sign เช่น ก้อนในช่องท้อง รอยแผลเป็นหรือรอยผ่าตัด เส้นเลือดดําโป่งพอง สะดือที่ถูกดึง รั้งหรือโป่งนูนขึ้น
3.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ cefazolin 2 gm v q 6 hr ตามแผนการรักษาของแพทย์
4.ติดตามอาการของผู้ป่วยจากการได้รับยา
5.ให้การพยาบาลทำความสะอาดแผลผ่าตัดDry dressing 1ครั้ง/วัน ตามแผนการรักษา
6.สังเกตอาการและอาการแสดงที่บ่งบอกถึงภาวะติดเชื้อ เช่นได้แก่ มีไข้สูง รู้สึกหนาวสั่น , มือและเท้าเย็น ,หายใจถี่ ชีพจรเต้นเร็ว ,คลื่นไส้ อาเจียน เป็นต้น
7.ดูแลความสะอาดของผู้ป่วยและเครื่องมือทำหัตถการ
เกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล
1.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
T= 36.5 - 37.4 ˚C P=60 – 100 ครั้ง/นาที R=16-24 ครั้ง/นาที BP=90-140/60-90 mmHg
O2sat=95 – 100 %
2.ไม่มีอาการท้องอืด
สรุปการประเมินผล
1.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ T=37.6 0 C P=82 ครั้ง/นาที R=22 ครั้ง/นาที B=150/92 mmHg
2.ไม่มีอาการท้องอืด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 3 ไม่สุขสบายจากการปวดแผลผ่าตัดเนื่องจากมีการทำลายเนื้อเยื่อของร่างกายจากการผ่าตัด
เป้าหมายของการพยาบาล
เพื่อบรรเทาอาการปวดแผลผ่าตัด
เกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินระดับpain score อยู่ในระดับ mild คะแนนอยู่ในช่วง 1-3
ผู้ป่วยบอกปวดแผลผ่าตัดลดลง สีหน้าสดชื่นขึ้น
ผู้ป่วยมีอาการแสดงร่วมของความเจ็บปวดลดลง ได้แก่ ชีพจรเต้นเป็นปกติ(60-100ครั้ง/นาที) ไม่หายใจเหนื่อยหอบ(16-20ครั้ง/นาที) ไม่มีท่าทางกระสับกระส่าย
วัดV/S อยู่ในเกณฑ์ปกติ ดังนี้ T=36.5-37.4 องศาเซลเซียส R=16-20 ครั้ง/นาที P=60-100 ครั้ง/นาที BP=120/80 mmHg SpO2=95-100%
การวางแผนการพยาบาล
1.ประเมินสภาพผู้ป่วย วัดสัญญาณชีพทุกๆ15-30นาที4ครั้ง ทุก30นาที2ครั้งและทุก1ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่ ทดสอบระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
2.ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด MO 4 mg v prn for painตามแผนการรักษา
3.จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา
4.แนะนำให้ผู้ป่วยใช้มือทั้งสองข้างประคองบริเวณแผลผ่าตัดขณะที่มีการเคลื่อนไหวหรือไอ
5.แนะนำให้ผู้ป่วยหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องแทนทรวงอก
หายใจเข้าลึกๆทางจมูกจนหน้าท้องโป่ง ทำให้ปอดขยายเต็มที่ หายใจออกทางปากข้าๆคล้ายผิวปาก ให้เต็มที่จนหน้าท้องลดลงทำให้อากาศออกจากปอดมากที่สุด
6.เบี่ยงเบนความสนใจของผู้ป่วย ดูแลด้านจิตใจ พูดคุยและปลอบโยนให้กำลังใจ
7.จัดสิ่งแวดล้อมบริเวณรอบข้างให้มีอากาศถ่ายเท ไม่มีสิ่งรบกวน ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
สรุปการประเมินผล
1.ประเมินระดับpain score ได้ 4 คะแนน อยู่ในระดับ moderate
2.ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย ช่วยเหลือตัวเองได้ดี
3.ผู้ป่วยมีอาการแสดงร่วมของความเจ็บปวดลดลง คือ หายใจเหนื่อยหอบเล็กน้อย R= 22 b/min และไม่มีท่าทางกระสับส่าย P=82ครั้ง/นาที
V/S T = 37.6 0 C BP=150/92 mmHg R= 22 b/min p= 82 b/min
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 6 เสี่ยงเกิดภาวะแทรกซ้อนจากความไม่สมดุลของอิเลคโทรไลต์
เป้าสหมายการพยาบาล
ได้รับน้ำและอิเลคโทรไลต์เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
เกณฑ์การประเมินการพยาบาล
ไม่มีอาการของ K ในเลือดต่ำคือ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ความดันโลหิตต่ำ เป็นตะคริว ท้องอืด หายใจไม่ได้
ไม่มีอาการของ Ca ในเลือดต่ำ คือ เวียนศีรษะ เป็นตะคริว กล้ามเนื้อเกร็ง กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือกล้ามเนื้อกระตุก เห็นภาพหลอน อาการชา
ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
สัญญาณชีพอยู่ในช่วงปกติ
T=36.5 - 37.4 ˚C P=60 – 100 ครั้ง/นาที R=16-24 ครั้ง/นาที B=90-140/60-90 mmHg O2 sat=95 – 100 %
ผลตรวจ electrolyte Na 135 – 145 mmol/l K 3.5 – 5.5 mmol/l CL 95 – 105 mmol/l
การวางแผนการพยาบาล
1 การประเมิน ได้แก่อาการทางคลินิกสัญญาณชีพ อาการทางระบบประสาท
1.1 อาการทางคลินิกของภาวะโปแทสเซียมในเลือดต่ำ และแคงเซียมต่ำ หากพบระดับโปแทสเซียมในเลือดต่ำและแคลเซียมต่ำและมีอาการทางคลินิกให้รายงานแพทย์ทันทีเพื่อแพทย์พิจารณาการให้โปแทสเซียมเสริมทางหลอดเลือดดำ
1.2 สัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมงหรือตามความจำเป็น โดยเฉพาะอัตราและจังหวะการเต้นของชีพจร หากตรวจพบมีภาวะหัวใจเต้น ผิดจังหวะคือชีพจรเบาเร็วและไม่สม่ำเสมอซึ่งเป็นอาการแสดงของภาวะโปแทสเซียมในเลือดต่ำรุนแรง รายงานแพทย์ทันที(James & Ashwill, 2007) ประเมินอัตราและลักษณะของการหายใจ หากพบความผิดปกติของระบบการหายใจเช่น หายใจเร็วหรือแรงขึ้น ปีกจมูกบาน(nasal flaring) หน้าอกบุ๋ม อาการผงกศีรษะ (headbobbing) หรือเสียงหายใจออกดังผิดปกติ(grunting) ควรรีบให้การช่วยเหลือและรายงานแพทย์
1.3 สังเกตอาการของแคลเซียมต่ำ คือเวียนศีรษะ เป็นตะคริว กล้ามเนื้อเกร็ง กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือกล้ามเนื้อกระตุก เห็นภาพหลอน หรือมีอารมณ์เปลี่ยนแปลง เช่น รู้สึกวิตกกังวล สับสน ซึมเศร้า หงุดหงิด เป็นต้น มีอาการชา เสียวหรือปวดคล้ายถูกเข็มแทงตามใบหน้า ปาก มือ หรือเท้าสั่น หรือทรงตัวลำบาก
1.4 อาการทางระบบประสาท (neurologicsigns) เช่น หงุดหงิดง่าย สับสน ง่วงซึม รีเฟล็กซ์ลดลงและกล้ามเนื้ออัมพาตแบบอ อ่อนปวกเปียก หากพบมีอาการทางระบบประสาท รายงานแพทย์ทันที
2.ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอิเลกโตรลัยต์ทดแทน - 5% D/N/2 1000 ml V drip 100 cc./hrทางหลอดเลือดดำและทางปากตามแผนการรักษา
3ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา domperidone 1X3 ac
บันทึกสารน้ำเข้าและออกและบันทึกลักษณะและปริมาณของอาเจียนปัสสาวะ
5.ติดตามค่าอิเลคโทรไลต์
สรุปการประเมินผล
ไม่มีอาการของ K ในเลือดต่ำคือ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ความดันโลหิตต่ำ เป็นตะคริว ท้องอืด หายใจไม่ได้
ไม่มีอาการของ Ca ในเลือดต่ำ คือ เวียนศีรษะ เป็นตะคริว กล้ามเนื้อเกร็ง กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือกล้ามเนื้อกระตุก เห็นภาพหลอน อาการชา
ผู้ป่วยไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน เริ่มรับประทานอาหารอ่อนได้ และได้รับการ off foley’s cath แล้ว
สัญญาณชีพอยู่ในช่วงปกติT=37.8 ˚C P=86 ครั้ง/นาที R=24 ครั้ง/นาที B=155/96 mmHg
5.ผลตรวจค่าอิเลคโทรไลต K 3.3 mg/dl (3.5 – 5.5) ยังต่ำกว่าปกติเล็กน้อย Ca 8.4 mg/dl (8.8-10) ยังต่ำกว่าปกติเล็กน้อย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 5 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนคือ ท้องอืด ถุงลมปอดแฟบ หลังการผ่าตัดในระยะหลัง 24 ชั่วโมง
เป้าหมายของการพยาบาล
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดในระยะหลัง 24 ชั่วโมง
เกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล
1.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ T 36.5 - 37.4 ˚C P 60 – 100 ครั้ง/นาที R 16-24 ครั้ง/นาที BP 90-140/60-90 mmHg O2 sat 95 – 100 %
ผู้ป่วยไม่มีอาการของภาวะแทรกซ้อนของท้องอืดและถุงลมปอดแฟบ เช่น หายใจหอบเหนื่อย หอบเหนื่อยง่ายขณะทำกิจกรรม ตัวเขียว เคาะปอดได้เสียงทึบ แน่นท้อง เรอบ่อยครั้ง คลื่นไส้ อาเจียน อิ่มเร็ว แสบบริเวณหน้าอก
ประเมินระดับpain scoreอยู่ในระดับ mild คือ1-3 คะแนน
การวางแผนการพยาบาล
ประเมินระดับความรู้สึกตัวและความเจ็บปวดของผู้ป่วยเมื่อแรกรับ
ประเมินสภาพผู้ป่วย วัดสัญญาณชีพทุกๆ4ชั่วโมง
สังเกตอาการของภาวะแทรกซ้อนของท้องอืดและถุงลมปอดแฟบ เช่น หายใจหอบเหนื่อย หอบเหนื่อยง่ายขณะทำกิจกรรม ตัวเขียว เคาะปอดได้เสียงทึบ แน่นท้อง เรอบ่อยครั้ง คลื่นไส้ อาเจียน อิ่มเร็ว แสบบริเวณหน้าอก
4.ประเมินระดับความเจ็บปวด
5.การฝึกการหายใจลึกๆหรือการหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อซี่โค รง( Deep Breathing Exercise) ให้ผู้ป่วยนอน สูดหายใจเข้าลึกๆทางจมูกให้ซี่โครงบานออกกลั้นไว้ช่วง สุดท้ายและผ่อนลมหายใจออกทางปากช้าๆให้ซี่โครงยุบ ท า 5-10 ครั้ง ใน 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยา - Air-X 1X3 pc - domperidone 1X3 ac ตามแผนการรักษา
7.สังเกตภาวะสะอึกที่มีสาเหตุจากภาวะท้องอืด หากผู้ป่วยมีภาวะสะอึกดูแลให้ผู้ป่วยหายใจในถุงพลาสติก
8.กระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังกายตามความสามารถ เช่น การพลิกตัว การพลิกตะแคงซ้ายและขวาสามารถทำได้เลยเมื่อรู้สึกตัวและควรพลิกตะแคงตัวเองอย่างน้อยทุกๆ 2 ชั่วโมง
สรุปการประเมินผล
สัญญาณชีพ
T=37.6 ˚C P=150/92ครั้ง/นาที R=22 ครั้ง/นาที Bp=82 mmHg
หลังรับประทานอาหารผู้ป่วยมีอาการอืดแน่นท้องเล็กน้อย มีอาการคลื่นไส้เป็นบางครั้ง แต่ไม่อาเจียน
ประเมินระดับpain scoreอยู่ในระดับ moderate คือ 4 คะแนน
ข้อวินิจฉัยข้อทึ่ 7
พร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับโรคที่เป็นและการปฏิบัติตัวหลังการผ่าตัดถุงน้ำดี
เป้าหมายของการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
เกณฑ์การประเมินหล
1.ผู้ป่วยสามารถอธิบายและบอกการปฏิบัติตัวหลังได้รับการผ่าตัดถุงน้ำดีได้ถูกต้อง
2.ผู้ป่วยสามารถอธิบายและบอกการปฏิบัติตัวต่อโรคความดันโลหิตสูงได้ถูกต้อง
การวางแผนการพยาบาล
1.ประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วยและญาติในการดูแลตนเอง
4.ดูแลให้ได้รับยาhomemade ตามแผนการรักษา ได้แก่
5.ให้ผู้ป่วยสังเกตผลข้างเคียงจากยาทีได้รับ ดังนี้
cefixime ผลข้างเคียงที่พบได้ทั่วไป ได้แก่ ปวดท้อง ท้องอืด แสบร้อนกลางอก คลื่นไส้ อาเจียน เป็นต้น
domperidone กล้ามเนื้อมีอาการสั่นหรือกระตุกที่ใบหน้าหรือลำตัว ผื่นขึ้นที่ผิวหนัง เต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้น และมีน้ำนมไหลออกมา สมรรถภาพทางเพศลดลง น้ำนมไหลออกจากหัวนม ปากแห้ง เต้านมโตในผู้ชาย ปวดศีรษะ ผื่นลมพิษ รู้สึกร้อนตามผิว คันผิวหนัง ตาแดง บวม และคัน ประจำเดือนผิดปกติ เจ็บเต้านม
Air-X อาการอันไม่พึงประสงค์ ได้แก่ ท้องเสียในระดับปานกลาง คลื่นไส้ อาการไหลย้อน อาเจียน
Vit B1 เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย กระสับกระส่าย รู้สึกร้อน เหงื่อออกมาก หรือรู้สึกอ่อนเพลีย
Amlodipine อาจพบอาการบวมตามมือ เท้า ขาส่วนล่าง ข้อเท้า ปวดศีรษะ ท้องเสีย มึนหัว หน้ามืด เหนื่อยง่าย ซึม หน้าแดง ใจสั่น ท้องอืด
HCTZ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเสีย ท้องผูก กล้ามเนื้อกระตุก วิงเวียน หรือปวดศีรษะ เป็นต้น
และหากมีอาการที่กล่าวมาข้างต้นให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์
6.สังเกตความผิดปกติของแผลผ่าตัด หากมี ปวด บวม แดง ร้อน มีไข้ ให้กลับมาพบแพทย์
7.สังเกตอาการและอาการแสดงของโรคความดันโลหิตสูง ได้แก่ ปวดศีรษะรุนแรง หายใจสั้น เลือดกำเดาไหล
8.ให้มาพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง
2.จัดทำเอกสารแผ่นพับเรื่องการปฏิบัติตัวหลังได้รับการผ่าตัดถุงน้ำดี โดยมีหัวข้อในแผ่นพับดังนี้
2.1.การปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน การรับประทานอาหารในช่วง 4-6 ชั่วโมง หลังผ่าตัดควรรับประทานอาหารที่มีไขมันน้อยและแคลอรี่สูง ได้แก่ เนื้อสัตว์ต่างๆ แป้ง และจำพวกวิตามินซึ่งมีในจำพวก ผัก ผลไม้ต่างๆ หลังจากนั้นผู้ป่วยรับประทานอาหารได้ตามปกติเพราะน้ำดีสามารถไหลผ่านไปยังลำไส้เล็กส่วนต้นได้ดีมากขึ้น เพื่อช่วยย่อยไขมัน แต่ต้องระวังไม่ให้รับประทานอาหารที่มีไขมันมากเกินไป และควรรีบมาพบแพทย์เมื่อมีอาการรุนแรงกลับมาอีก
2.2.การสังเกตอาการผิดปกติของตนเอง เช่น ปวดท้อง มีไข้หนาวสั่น คลื่นไส้ อาเจียน แนะนำให้รีบกลับมาพบแพทย์
2.3.การพักผ่อนการออกกำลังกายแนะนำให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่าง
เพียงพอประมาณวันละ 6-8 ชั่วโมง และให้มีกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติและสามารถออกกำลังกายตามความเหมาะสมตามสภาพร่างกาย
2.4.การทำงาน หลีกเลี่ยงการทำงานหนักในระยะหลังผ่าตัด 1สัปดาห์หลังกลับบ้าน
2.5การออกกำลังกายตามความสามารถของผู้ป่วยที่จะทำได้มีกิจกรรมได้ตามปกติแต่ไม่ควรยกของหนักเป็นเวลา 6 สัปดาห์หลังผ่าตัด
2.6.แนะนำมาตรวจตามนัด
2.7.การดูแลแผลผ่าตัด
ไม่แคะ แกะ เกาแผลผ่าตัด ระวังไม่ให้แผลเปียกชื้น
สังเกตบริเวณแผลผ่าตัดที่ปิดก้อซไว้ว่า ดูว่ามีเลือดหรือหนองซึมหรือไม่
ให้เช็ดตัวแทนการอาบน้ำ หลังการผ่าตัด
ถ้าทำแผลและปิดพลาสเตอร์กันน้ำแล้วสามารถอาบน้ำได้
เมื่อครบ 7 วันจะนัดให้ไปเปิดแผลผ่าตัดและตัดไหมที่สถานีอนามัยใกล้บ้าน หากแผลแห้งดีก็สามารถอาบน้ำได้ตามปกติถ้ามีอาการปวดแผลมาก สามารถบอกพยาบาลได้เพื่อให้ยาแก้ปวด
3.จัดทำเอกสารแผ่นพับเรื่องการปฏิบัติตัวต่อโรคความดันโลหิตสูง โดยมีหัวข้อในแผ่นพับดังนี้
3.1.การลดน้ำหนักในผู้ที่มีน้ำหนักเกินหรือรูปร่างอ้วพยายามควบคุมให้มีค่าดัชนีมวลกายตั้งแต่18.5-22.9 กก./ตรม.
3.2.การปรับรูปแบบของการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ แนะนำให้รับประทานอาหารให้ครบ5หมู่ โดยแต่ละมื้อมีปริมาณอาหารที่เหมาะสม
3.3.การจำกัดปริมาณเกลือและโซเดียมในอาหาร โดยไม่ให้เกินวันละ1.5กรัม
3.4.การเพิ่มกิจกรรมทางกายหรือการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ควรออกกำลังกายแบบแอโรบิกอย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วันโดยสามารถเลือกออกกำลังกายที่ระดับความหนักแตกต่างกันได้หลายแบบ
3.5.การจำกัดหรืองดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในผู้ที่ไม่เคยดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไม่แนะนำให้ดื่มหรือถ้าดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อยู่แล้วควรจำกัดปริมาณกล่าวคือผู้หญิงไม่เกิน 1 ดื่มมาตรฐาน (Standard drink) ต่อวันและผู้ชายไม่เกิน 2 ดื่มมาตรฐานต่อวันโดยปริมาณ 1 ดื่มมาตรฐานของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หมายถึงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ประมาณ 10 กรัม
3.6.การเลิกบุหรี่ อาจไม่ได้มีผลต่อการลดความดันโลหิตโดยตรงแต่สามารถช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้
สรุปการประเมินผล
1.ผู้ป่วยยกตัวอย่างการปฏิบัติตัวหลังได้รับการผ่าตัดถุงน้ำดีที่เหมาะสม เช่น รับประทานอาหารที่มีไขมันน้อยและแคลอรี่สูง การจำกัดการดื่มแอลกอฮอล์ การเลิกบุหรี่ เป็นต้น
2ผู้ป่วยยกตัวอย่างการปฏิบัติตัวต่อโรคความดันโลหิตสูงได้ถูกต้อง เช่น การจำกัดปริมาณเกลือและโซเดียมในอาหาร การจำกัดหรืองดการดื่มแอลกอฮอล์ การเลิกบุหรี่ เป็นต้น
สภาพผู้ป่วยก่อนรักษา
ผู้ป่วยชายไทย รูปร่างอ้วน อายุ 64 ปี เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2563 ด้วยอาการปวดจุกท้องมาก คลื่นไส้ อาเจียน 5 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล แพทย์วินิจฉัย Acute cholecystitis ประวัติมีโรคความดันโลหิตสูงร่วมด้วยรับยาไม่สม่ำเสมอ ไม่สูบบุหรี่ ดื่มสุราเป็นประจำ อาการปัจจุบันผู้ป่วยพูดคุยถามตอบรู้เรื่อง ตัวและตาเหลืองเล็กน้อย มีอาการปวดท้องปวดด้านขวา กดเจ็บ แน่นท้อง มีคลื่นไส้อาเจียนเป็นน้ำสีเขียว ได้รับการ NPO on on 5% D/N/2 1000 ml V drip 100 cc./hr เตรียม Set OR for OC เวลา 10.00 น. retained foley’s cath c bag ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม 500 cc
V/S T = 39.6 0 C BP=140/90 mmHg R= 28 b/mim p= 92 b/min
สภาพผู้ป่วยวันสุดท้ายของการของการรักษา
ผู้ป่วย ช่วยเหลือตัวเองได้ดี off IV fluid แล้ว ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้หลังรับประทานอาหารมีอืดแน่นท้องเล็กน้อย แผลผ่าตัดที่หน้าทัองเป็นแผลเย็บแห้งดี ไม่มีdischargeซึม หลังoff Jackson drain แผลมี discharge ซึมเล็กน้อย ปวดแผลระดับ 4 มีอาการคลื่นไส้เป็นบางครั้ง แต่ไม่อาเจียน
V/S T = 37.6 0 C BP=150/92 mmHg R= 22 b/mim p= 82 b/min
ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น และพร้อมกลับบ้านวันที่ 30 แต่ยังต้องรับประทานยาให้ต่ิเนื่อง และนัดติดตามผลการรักษา ดังนั้นผู้ป่วรตต้องปฏิบัติตามคำแนะนำและการดูแลตนเองให้ดี เพื่อที่อาการจะได้ดีขึ้นและไม่กลับมาเป็นซ้ำ