Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility), นางสาวกุลวดี ชอบชื่น ห้อง B เลขที่ 7…
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
ความหมาย
คู่สมรสที่ไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ โดยมีเพศสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอ และ
ไม่ได้คุมกำเนิด 1 ปี
หญิงอายุ > 35 ปี ที่ไม่ได้คุมกำเนิดมา 6 เดือน
ประเภท
แบบปฐมภูมิ
ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์มาก่อน
มีเพศสัมพันธ์แล้ว > 12 เดือน
แบบทุติยภูมิ
ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อน แต่เคยแท้งหรือคลอดบุตร และไม่ตั้งครรภ์อีกเลยระยะเวลา > 12 เดือน
สาเหตุ
ฝ่ายหญิง (Female)
30% ท่อนำไข่
20% Endometriosis
40% การทำงานของรังไข่ผิดปกติ
5%
Immunological
อื่นๆ
ฝ่ายชาย (Male)
80% Sperm dysfunction
น้อย
รูปร่างผิดปกติ
10%
Sexual factors
อื่นๆ
ภาวะด้านจิตใจ
ความเครียด
วิตกกังวล
ความสามารถในการมีบุตร
ชาย อายุ > 55 ปีขึ้นไป อสุจิจะมีความผิดปกติมากขึ้น
หญิง อายุ 21-25 ปี สามารถมีบุตรได้สูง
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ อสุจิที่สร้างขึ้นมาใหม่จะมีคุณภาพ โดยจะอยู่ในท่อนำไข่ได้ประมาณ 2 วัน การมีเพศสัมพันธ์ที่เหมาะสม คือ 2-3 ครั้ง/ สัปดาห์
การวินิจฉัย
ฝ่ายหญิง
ประวัติ
การมีประจำเดือน
อุบัติเหตุ /การผ่าตัด
การแต่งงานและการมีบุตร
การมีเพศสัมพันธ์
การคุมกำเนิด
การตรวจร่างกาย
ตรวจร่างกายทั่วไป ได้แก่ ตรวจโรคทางอายุรกรรมที่ทำให้มีบุตรยาก
การตรวจต่อมไร้ท่อ
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
คอมดลูก ได้แก่ PV ดูลักษณะทางกายวิภาค
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด ได้แก่ PV, Wet smear
ตัวมดลูก ได้แก่ PV, U/S
ท่อนำไข่
30-50% ของการมีบุตรยาก มีสาเหตุจากการอุดตันของท่อนำไข่ มักเกิดภายหลังการอักเสบติดเชื้อในช่องเชิงกราน
การวินิจฉัย
การฉีดสารทึบรังสีหรือเอ็กซ์เรย์
การส่องกล้อง
ตรวจในอุ้งเชิงกราน
ตรวจโพรงมดลูก
รังไข่ ได้แก่ BBT, Serum progesterong
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ
เต้านม
ตรวจความผิดปกติของการตกไข่
การตรวจวัด basal body temperature
การตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในกระแสเลือด โดยเจาะเลือดตรวจ 1 สัปดาห์ก่อนประจำดือนมา
การทำ post coital test เพื่อดูมูกที่ปากมดลูกและดูความสามารถของอสุจิที่จะว่ายผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูก ควรตรวจ 1-2 วันก่อนไข่ตก และงดการมีเพศสัมพันธ์มา 2-3 วัน โดยใช้ Syringe เล็กๆ ดูดเอามูกมาป้ายบนแผ่นสไลด์และนำมาส่องกล้อง เพื่อดูว่าตัวอสุจิเคลื่อนไหวดีหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด
ตรวจฮอร์โมน
ฝ่ายชาย
ซักประวัติ
การมีเพศสัมพันธุ์และความถี่
การได้รับอุบัติเหตุ ,การผ่าตัด และการกระทบกระเทือนที่อวัยวะสืบพันธุ์
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต, การสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์
การได้รับยา ,รังสีและสารเคมี
การตรวจร่างกาย
ตรวจร่างกายทั่วไป
ตรวจระบบสืบพันธุ์
ลักษณะรูปร่างอัณฑะ
หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
ลักษณะและรูเปิดท่อปัสสาวะ
หนังหุ้มปลายองคชาต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจฮอร์โมน
การตรวจน้ำอสุจิ
ค่าปกติ
จำนวนอสุจิ 20 ล้านตัว/cc.
การเคลื่อนไหว 50% หรือมากกว่า
ค่า pH 6-8
ลักษณะรูปร่าง 50% หรือมากกว่า
ปริมาณน้ำเชื้อ 2 cc.หรือมากกว่า
การมีชีวิต 50% หรือมากกว่า
วิธีเก็บ
ส่งตรวจอสุจิภายใน 1 ชั่วโมงหลังจากที่เก็บ
ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่านั้น
งดมีเพศสัมพันธุ์ 2-7 วัน ก่อนตรวจ
ก่อนตรวจไม่ควรหลั่งนอกหรือใส่ถุงยางอนามัย
การตรวจเลือดทั่วไป
การรักษา
การรักษาแบบขั้นต้น
การกระตุ้นไข่
การผสมเทียม
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง (IUI)
การนำน้ำอสุจิที่ได้คัดแยกแล้วฉีดเข้าโพรงมดลูกขณะตกไข่ ตัวอสุจิจะว่ายไปผสมกับไข่ต่อไปเอง แพทย์จะใช้ยากระตุ้นให้มีการตกไข่มากกว่าหนึ่งใบ
วิธีนี้ไม่เหมาะกับผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตัน หรือผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ เช่น จำนวนน้อย เคลื่อนไหวผิดปกติ
การกำหนดระยะเวลาการมีเพศสัมพันธุ์
การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ART)
GIFT
การนำไข่และเชื้ออสุจิไปใส่ในท่อนำไข่ หลังจากเจาะดูดไข่ออกมาแล้วนำไข่ 3-4 ใบมารวมกับอสุจิที่คัดแยกแล้ว จากนั้นนำฉีดผ่านเข้าท่อนำไข่ทันที เป็นการเลียนแบบธรรมชาติ
ข้อบ่งชี้
ต้องไม่มีปัญหาที่ปีกมดลูก
ฝ่ายหญิงจะต้องมีท่อรังไข่ที่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง
ZIFT
คล้ายการทำเด็กหลอดแก้ว
แต่ไข่และอสุจิที่ผ่านการเตรียมจะถูกนำมาผสมกันและเพาะเลี้ยงไว้ในห้องปฏิบัติการ 1 วัน ถ้าเกิดการปฏิสนธิแล้วจะใส่ตัวอ่อนสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้อง ใส่ไปในท่อนำไข่
IVF
การปฏิสนธินอกร่างกายและการย้ายตัวอ่อน เรียกว่า เด็กหลอดแก้ว ทำคล้ายกับ GIFT แต่จะนำไข่และอสุจิมาปฏิสนธิกันนอกร่างกาย เพราะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ เพื่อให้มีการแบ่งเป็นตัวอ่อน จากนั้นนำตัวอ่อนใส่ไปในโพรงมดลูกเพื่อให้เจริญเติบโตต่อไป
ICSI
การฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรง ทำภายใต้กล้องขยายกำลังสูง หลังจากฉีดอสุจิเข้าไปจะเกิดการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อนขึ้น
ข้อบ่งชี้
ตัวอสุจิน้อยมาก
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี
ตัวอสุจิรูปร่างผิดปกติ
คู่สมรสที่ตัวอสุจิกับไข่ไม่สามารถปฏิสนธิกันได้
Micromanipulation
คู่สมรสที่มีปัญหาด้านเชื้ออสุจิจำนวนน้อย ไม่เคลื่อนไหว
ใช้เข็มเล็กๆเจาะเปลือกไข่ แล้วให้อสุจิวิ่งผ่านรูที่เจาะ หรือฉีดเชื้ออสุจิเข้าใต้เปลือกไข่ วิธีนี้ต้องอาศัยเครื่องมือพิเศษ และความชำนาญ
ภาวะมีบุตรยากแบบไม่ทราบสาเหตุ
คู่สมรสมีบุตรยากเมื่อตรวจหาสาเหตุครบมาตรฐาน แต่ไม่พบความผิดปกติ พบประมาณ 10-15% ของคู่สมรสทั้งหมด
นางสาวกุลวดี ชอบชื่น ห้อง B เลขที่ 7 รหัสนักศึกษา 613601115