Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility), นางสาวศศิวิมล หลงชิน ห้อง 2B เลขที่ 74…
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
การที่คู่สมรสไม่สามารถมีการตังครรภ์ได้โดยที่มีความสัมพันธ์ทางเพศกันอย่างสม่ำเสมอและไม่ได้คุมกำเนิดมาเป็นเวลา 1ปี
หรือระยะเวลา 6 เดือนในกรณีที่คู่สมรสฝ่ายหญิงที่มีอายุเกิน 35 ปีขึนไป
ภาวะมีบุตรยากแบบปฐมภูมิ (Primary infertility)
ฝ่ายหญิงไม่เคยตังครรภ์ หลังจากที่พยายามแล้วเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ (Secondary infertility)
ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อน อาจสิ้นสุดด้วยการแท้งหรือการคลอด หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลยเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
สาเหตุจากฝ่ายหญิง (Female infertility)
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ พบร้อยละ 40
ท่อนำไข่ พบร้อยละ 30
Endometriosis พบร้อยละ 20
Immunological พบร้อยละ 5
Other พบร้อยละ 5
สาเหตุจากฝ่ายชาย(Male infertility)
Sperm dysfunction พบร้อยละ 80
เชื้ออสุจิ น้อย มีรูปร่างผิดปกติ มีการเคลื่อนไหวน้อย
Sexual factors พบร้อยละ 10
Electile dysfunction, Premature dysfunction
Other พบรอยละ 10
ภาวะทางด้านจิตใจ
ความเครียด ความวิตกกังวล
ความสามารถในการมีบุตร
ฝ่ายหญิง 21-25 ปี ความสามารถมีบุตรได้สูง
ฝ่ายชาย อายุ>55 ปี จะมีความผิดปกติของอสุจิมากขึ้น
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ อสุจิที่สร้างขึ้นมาใหม่มีคุณภาพดีและแข็งแรงกว่าอสุจิที่สร้างมานาน และมีชีวิตอยู่ในท่อนำไข่ของฝ่ายหญิงได้ประมาณ 2 วัน ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ที่เหมาะสมคือ 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
ประวัติ
ประวัติการมีประจำเดือน การผ่าตัด การแต่งงานและการมีบุตร การมีเพศสัมพันธ์ การคุมกำเนิด ลักษณะนิสัยบางประการ รูปแบบการดำเนินชีวิต การได้รับยา
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
Secondary sex โรคทางอายุรกรรมที่มีสาเหตุให้มีบุตรยาก
การตรวจต่อมไร้ท่อ
Hypothalamus, Pituitary, Thyroid
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธ์ุสตรี
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด ได้แก่ PV , Wet smear , Culture
TURNER SYNDROME
คอมดลูก ได้แก่ PV, Hysterosalpingogram, Endometrium biopsy, Hysteroscopy, U/S
ท่อนำไข่ ได้แก่ co2 insufflation หรือ Rubin test, Hysterosalpingogram, Laparoscope
การประเมินท่อนำไข่ มดลูก และอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
สาเหตุของภาวะมีบุตรยากร้อยละ 30-50 ซึ่งส่วนใหญ่ของภาวะอุดตันของท่อน้ำไข่มักเกิดภายหลังการอักเบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไส้ติ่งอักเสบ การทำแท้ง ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
การวินิจฉัย
Hysterosalpingogram(HSG) การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซ์เรย์
Endoscopy การส่องกล้อง Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
รังไข่ ได้แก่ BBT, Cx mucous, Endometrium biopsy, Serum progesterone
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน ได้แก่ PCT (postcoital test)
เต้านม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ การตรวจเลือดทั่วๆไป การตรวจฮอร์โมน
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
การตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในกระแสเลือดที่กึ่งกลางของระยะลูเทียล เจาะเลือดเพื่อตรวจในช่วงประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนประจำเดือนมา
˃ 5 μ/dl= มีการตกไข่
˃ 10 μ/dl= มีการตกไข่ คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติด้วย
การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูกหรือการทำ postcoital test
การตรวจวัด basal body temperature หรือ BBT chart
การตรวจการทำงานของอสุจิหรือ sperm function tests นั้น ไม่มีหลักฐานว่ามีประโยชน์ต่อการดูแลรักษา จึงไม่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน
การทำ Post coital test
เพื่อดูมูกที่ปากมดลูกและดูความสามารถของอสุจิที่จะว่ายผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูก ระยะเวลาที่เหมาะสมในการตรวจไดแก่ 1-2 วันก่อนการตกไข่ โดยให้คู่สมรสมีเพศสัมพันธ์กันหลังจากที่งดเพศสัมพันธ์มาเป็นเวลา 2-3 วัน แล้วให้มารับการตรวจประมาณ 9-24 ชั่วโมง หลังจากนั้น ด้วยการตรวจโดยใช้ Syringe เล็กๆ ดูดเอามูกบริเวณ posterior fornix มาป้ายบนแผ่นสไลด์ เพื่อดูว่ายังคงมีตัวอสุจิหรือไม่ และดูดจากช่องคอมดลูก และยืดดู ถ้าเป็นช่วงของการตกไข่มูกจะใสและยืดได้ยาวก่อนที่จะขาดออกจากกัน จากนั้นนำไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ เพื่อดูว่ามีตัวอสุจิที่มีการเคลื่อนไหวดีหรือไม่ หากพบอสุจิที่เคลื่อนไหวไปข้างหน้าเกิน 5 ตัว/HPF แสดงว่าอสุจิสามารถว่ายผ่านมูขึ้นไปได้และมูกที่ปากมดลูกยังทำหน้าที่เป็นแหละเก็บกักอสุจิและคอยส่งขึ้นไปในโพรงมดลูกด้วย แต่หากพบตัวอสุจิแต่ไม่มีการเคลื่อนไหวเลย อาจแสดงถึงการอักเสบของปากมดลูก โดยเฉพาะหากตรวจพบว่ามีเม็ดเลือดขาวร่วมด้วย หรือภาวะที่มูกปากมดลูกมีภูมิต้านทานต่อตัวอสุจิ
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
การซักประวัติ
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต เช่นโรคคางทูม โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
รูปแบบการดำเนินชีวิต ลักษณะนิสัย
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การมีเพศสัมพันธ์ ความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัดที่กระทบกระเทือนอวัยวะสืบพันธ์
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจระบบสืบพันธ์ เช่น หนังหุ้มปลายองคชาตลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสวะ รูปร่างอัณฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ ได้แก่ การตรวจเลือดทั่วๆไป การตรวจฮอร์โมน การตรวจน้ำอสุจิ
ค่าปกติของน้ำอสุจิ
ปริมาณน้ำเชื้อ(vol) 2 cc. หรือมากกว่า
ความเปนกรด-ด่าง (pH) 6-8
จำนวนตัวอสุจิ ต่อ ซีซี (Count/cc.) 20 ล้านตัว/ซีซีหรือมากกว่า
การเคลื่อนไหว (Motility) 50%หรือมากกว่า
ลักษณะรูปร่าง (Morphoiogy) 50%ปกติหรือมากกว่า
การมีชีวิต(Viability) 50% มีชีวิตหรือมากกว่า
การวิเคราะห์น้ำอสุจิ (WHO)
ปริมาณ(volume) ≥ 2มิลลิลิตร
ความหนาแน่นของตัวอสุจิ ≥ 20 ล้านตัวต่อมิลลิลตร
จำนวนของตัวอสุจิทั้งหมด ≥ 40 ล้านตัว
การเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ ≥ ร้อยละ 50 มีการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
รูปร่าง ลักษณะ ≥ ร้อยละ 14 มีรูปร่างลักษณะปกติ
จำนวนเม็ดเลือดขาว <1 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
ความเป็นกรด-ด่าง(pH) = 7.2 หรือมากกว่า
การมีชีวิต(vitality) ≥ ร้อยละ 75
การตรวจอสุจิ
งดการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวันตรวจ2-7วัน
นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1 ชั่วโมงภายหลังที่เก็บได้ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่านั้น
ไม่แนะนำให้มีเพศสัมพันธ์ก่อนและหลั่งข้างนอกหรือใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากอาจมีสารที่ทำลายอสุจิได้
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ (Unexplained infertility)
คือคู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุแล้วจนครบตามมาตรฐานแล้ว เช่น การประเมินการตกไข่การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ การประเมินการอุดตันของท่อนำไข่ แต่ไม่พบความผิดปกติ โดยพบได้ร้อยละ 10-15 ขงคู่สมรสทั้งหมด
การรักษาการมีบุตรยาก
การรักษาแบบขั้นต้น(conventional) ไม่เสียค่าใช้จ่ายมาก
การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธ์(Timiming intercourse)
การกระตุ้นไข่(Ovulation induction)
การผสมเทียม คือการใช้เครื่องมือฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปภายในอวัยวะสืบพันธ์ของสตรีในช่วงเวลาที่ไข่ตก เชื้ออสุจิอาจเป็นของสามีหรือผู้บริจาค วิธีนี้เหมาะกับผู้ชายที่เชื้ออ่อนแอ
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง (Intra-uterine insemination (IUI)
Artificial insemination
การนำน้ำอสุจิที่ได้รับการคัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่ ตัวอสุจิว่ายจากโพรงมดลูกไปทางท่อนำไข่และผสมกับไข่ด้วยตัวเองต่อไป แพทย์ใช้ยากระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่าหนึ่งใบเพื่อเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ให้มากขึ้น
วิธีการนี้ไม่เหมาะกับ
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีพังผืดขวางทางระหว่างไข่กับทางเข้าท่อนำไข่ ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกเจริญผืดที่ หรือปัญหาอื่นๆ ที่ทำให้ไข่ไม่สามารถตกเข้าท่อนำไข่ได้
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ เช่น มีจำนวนน้อยเคลื่อนไหวผิดปกติ หรือมีปัญหาอื่นๆ
วิทยาการการช่วยเหลือการมีบุตร (assisted reproductive technologies: ART)
การกระตุ้นการตกไข่ โดยการให้ GnRH เป็นระยะ (ตามการหลั่งของ GnRH ที่เป็นระยะ) กระตุ้นการผลิต FSH และ LH หรือให้ยาซึ่งเป็นฮอร์โมนสังเคราะห์ไปกีดกัน การทำงานของอีสโทรเจน ไม่ให้ไปยับยั้งการทำงานของ GnRH ทำให้มีการผลิต FSH และ LH ออกมาจำนวนมาก มีผลให้มีการตกไข่มากกว่า 1 ใบหลังจากนั้นจะนำไข่ออกมาเลือกใบที่แข็งแรงและนำมาใช้ตามการปฏิสนธินอกร่างกาย ด้วยวิธีต่างๆ
การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธ์ุ(Assisted Reproductive Technology หรือ ART)
GIFT
การกระตุ้นไข่เพื่อชักนำไข่ให้ไข่สุกหลายใบและนำมาผสมอสุจิข้างนอกเมื่อผสมเสร็จฉีดกลับเข้าท่อนำไข่ทันที
ZIFT
คล้ายกับการทำเด็กหลอดแก้ว โดยนำไข่และอสุจิมาผสมกันและเพาะเลี้ยงในห้องLab จนเกิดการปฏิสนธิและนำกลับเข้าสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้องใส่ไปในท่อนำไข่
IVF
นำข่มาผสมกับอสุจิให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกายโดยเพาะเลี้ยงในห้องLabเพื่อให้มีการแบ่งตัวจนเป็นตัวอ่อนในระยะ 4-8cellใช้เวลาเลี้ยงในห้องLab2-5วันจากนั้นนำตัวอ่อนที่ได้ไปใส่ในโพรงมดลูก
การเก็บไข่
แทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่โดยตรง ซึ่งสามารถเห็นได้จากอัลตราซาวด์ หรือผ่านทางหน้าท้องไปที่รังไข่
การเก็บสเปิร์ม
การหลั่งภายนอกเลือกสเปิร์มที่แข็งแรงเท่านั้น ซึ่งเก็บได้ไว้ในไนโตรเจนเหลวเป็นเวลาหลายปีโดยไม่เสื่อมสภาพ
ข้อบ่งชี้
ท่อนำไข่ตีบตัน
มีเยื่อพังผืดในอุ้งเชิงกรานซึ่งขัดขวางการเดินทางของไข่เข้าสู่มดลูก
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
ความผิดปกติของปากมดลูก
ความผิดปกติของการตกไข่
สาเหตุจากฝ่ายชาย
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
Micromanipulation
วิธีการรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยาก มักมีปัญหาทางด้านเชื้ออสุจิจำนวนน้อยมาก ไม่เคลื่อนไหวเป็นต้น โดยการใช้เข็มเล็กๆเจาะเปลืกไข่ แล้วให้เชื้ออสุจิวิ่งผ่านรูที่เจาะ หรือฉีดเชื้ออสุจิเข้าใต้เปลือกไข่ หรือแม้แต่การฉีดเชื้ออสุจิเข้า Ooplasm โดยตรงวิธีนี้ต้องอาศัยเครื่องมือพิเศษและประสบการณ์ความชำนาญของผู้ทำ
ICSI
การฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรง ทำภายใต้กล้องขยายกำลังสูง หลังจากเซลล์ไข่ถูกฉีดอสุจิเข้าไปจะเกิดการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อนขึ้น จากวิธีนี้ทำให้อสุจิไม่ต้องว่ายไปหาไข่ไม่ต้องเจาะผนังเซลล์ไข่เอง ทำให้อสุจิที่ไม่แข็งแรงสามารถปฏิสนธิกับไข่ได้ เหมาะสำหรับผู้ที่มีสเปิร์มน้อยมากๆ
ข้อบ่งชี้ในการทำ
ตัวอสุจิน้อยมาก
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี
ตัวอสุจิมีรูปร่างผิดปกติ
คู่สมรสที่ผ่านการทำการปฏิสนธินอกร่างกายแล้ว ตัวอสุจิกับไข่ไม่สามารถปฏิสนธิกันได้
Retrograde ejeculation
Immunological factor
ในกรณีที่ผู้ชายไม่มีตัวอสุจิเลย ซึ่งถือว่าเป็นหมันปัจจุบันสามารถนำเอาอสุจิออกจากอัณฑะ(TESTIS)หรือจากท่อนำน้ำอสุจิส่วนต้น(MESA,PESA)แล้วนำมาทำ ICSI
นางสาวศศิวิมล หลงชิน ห้อง 2B เลขที่ 74 รหัสนักศึกษา 613601182