Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (infertility), ืไม, นางสาวกรวดี ยิ่งยศกำจรชัย ชั้นปีที่ 2…
ภาวะมีบุตรยาก (infertility)
ความหมาย
ไม่สามารถตั้งครรภ์ได้
โดยมีเพศสัมพันธ์สม่ำเสมอตลอด 1 ปี
โดยมีเพศสัมพันธุ์ตลอด 6 เดือน และฝ่ายหญิงอายุ 35 ปีขึ้นไป
สาเหตุ
ฝ่ายหญิง
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ พบร้อยละ 40
ท่อนำไข่ พบร้อยละ 30
Endometriosis พบร้อยละ 20
Immunological พบร้อยละ 5
อื่นๆ พบร้อยละ 5
ฝ่ายชาย
Sperm dysfunction พบร้อยละ 80
เชื้ออสุจิน้อย
รูปร่างผิดปกติ
มีการเคลื่อไหวน้อย
Sexual factors พบร้อยละ 10
อื่นๆ ร้อยละ 10
ภาวะด้านจิตใจ
ความเครียด
ความวิตกกังวล
ภาวสะมีบุตรยาก 2 แบบ
แบบปฐมภูมิ (Primary infertility)
ฝ่ายหญิงไม่เคยมีบุตร หลังจากพยายามแล้วระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
แบบทุติยภูมิ (Secondary infertility)
ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อนสิ้นสุดด้วยการแท้งหรือการคลอด หลังจากนั้นไม่มีบุตรอีกเลย ระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
ความสามารถในการมีบุตร
ฝ่ายหญิงอายุ 21-25 ปี ความสามารถในการมีบุตรสูง
ฝ่ายชายอายุมากกว่า 55 ปีขึ้นไป จะมีความผิดปกติของอสุจิมากขึ้น
ความถี่ในการมีเพศสัมพันธุ์ 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์ เพราะอสุจิจะแข็งแรงและคุณภาพดี มีชีวิตอยู่ที่ท่อนำไข่ฝ่ายหญิงได้ประมาณ 2 วัน
การวินิจฉัยในฝ่ายหญิง
ประวัติ
ประวัติการมีประจำเดือน การผ่าตัด การแต่งงานและการมีบุตร การมีเพศสัมพันธุ์ การคุมกำเนิด ลักษณะนิสัยบางประการ รูปแบบการดำเนินชีวิต ลักษณะนิสัยส่วนตัว การได้รับยา รังสี สารเคมี การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด เป็นต้น
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
Secondary sex โรคทางอายุรกรรมที่เป็นสาเหตุทำให้มีบุตรยาก
การตรวจต่อมไร้ท่อ
Hypothalamus, Piyuitary, Thyroid
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด
PV , Wey smear , Culture
คอมดลูก
PV ดูลักษณะทางกายวิภาค ตรวจมูกคอมดลูก
ตัวมดลูก
PV , Hysterosalpingogram, Endometrium biopsy, Hysteroscopy, U/S
ท่อนำไข่
CO2 insufflation หรือ Rubin test , Hysterosalpingogram, Laparoscope
Turner syndrome
โรคทางพันธุกรรมในเพศหญิงเกิดความผิดปกติในโคโมโซม X เพียงอย่างเดียว
ลักษณะ รูปร่างเตี้ย คอมีพังผืด และปลายแขนกางออก รังไข่ไม่เจริญ ไม่มีประจำเดือน และอาจเกิดภาวะมีบุตรยาก
การประเมินท่อนำไข่ มดลูก และอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
สาเหตุของภาวะมีบุตรยากร้อยละ 30-50 ส่วนใหญ่เกิดจากการอุดตุันของท่อนำไข่ ซึ่งเกิดหลังจากการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ ไส้ติ่งอักเสบ ทำแท้ง ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
การวินิจฉัย
Hysterosalpingogram(HSG) การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซ์เรย์
Endoscopy การส่องกล้อง
Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
รังไข่ ได้แก่ BBT, Cx mucous, Endometrium
biopsy, Serum progesterone
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน ได้แก่ Laparoscope
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ ได้แก่ PCT (postcoital test)
เต้านม
การตวรจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
การตรวจฮอร์โมน
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
ตรวจวัดระดับ H.โปรเจสเตอโรนในกระเเสเลือดที่กึ่งกลางของระยะลูเทียล เจาะเลือดในช่วงประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนประจำเดือนมา
˃ 5 μ/dl = มีการตกไข่
˃ 10 μ/dl = มีการตกไข่ คอร์ปัสลูเทียมทำงานปกติ
การตรวจวัด basal body temperature หรือ BBt chart
การตรวจการทำงานของอสุจิหรือ sperm function tests (ไม่เป็นที่นิยม)
การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูกหรือทำการ postcoital test
การวินิจฉัยในฝ่ายชาย
การตรวจร่างกาย
ตรวจทั่วไป
ตรวจระบบสืบพันธุ์
หนังหุ้มปลายองคชาต
ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวั
ลักษณะรูปร่างอัณฑะ
หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
การตรวจฮอร์โมน
การตรวจน้ำอสุจิ
การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ
การตรวจอสุจิ
งดมีเพศสัมพันธุ์ก่อนวันตรวจ 2- 7 วัน
ส่งตรวจภายใน 1 ชั่วโมง
ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่านั้น
ไม่เเนะนำให้มีเพศสัมพันธุ์แล้วหลั่งข้างนอกหรือใส่ถุงยางอนามัยเนท่องจากอาจมีสารทำลายตัวอสุจิได้
ภาวะมีบุตรยากไม่ทราบสาเหตุ (unexp;ained infility)
คู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยแล้วไม่พบความผิดปกติ พบร้อยละ 10-15 ของคู่สมรสทั้งหมด
การรักษาการมีบุตรยาก
การรักษาแบบขั้นต้น (Conventional)
การกำหนดระยะเวลามีเพศสัมพันธุ์ , การกระตุ้นไข่ , การผสมเทียม
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง Intra-uterine insemination (IUI) : ขณะที่มีการตกไข่ โดยแพทย์อาจใช้ยากระตุ้นการตกไข่ร่วมด้วย
3D animation of how IUI works
ข้อจำกัด
ไม่เหมาะกับผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีพังผืดขวางทางระหว่างไข่กับทางเข้าท่อนำไข่
ไม่เหมาะกับผู้หญิงที่ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกผิดปกติหรือปัญหาอื่นๆที่ทำให้ไข่ไม่สามารถตกเข้าท่อนำไข่ได้
ผู้ชายที่มีปัญหาน้ำอสุจิ เช่น จำนวนน้อย เคลื่อนไหวผิดปกติ หรือปัญหาอื่นๆ
วิทยาการช่วยเหลือการมีบุตร
กระตุ้นการตกไข่
การใช้เทคโนโลยีช่วยในการเจริญพันธุ์
GIFT (Gamete Intrafallopian Transfer)
ZIFT (Zygote Intrafallopian Transfer)
IVF (In Vitro Fertilization)
Micromanipulation เจาะเปลือกไข่เป็นรูแล้วให้เชื้อสุจิวิ่งเข้าโดยตรง
อิ๊กซี่ Intracytoplasmic Sperm Injection; ICSI) เหมาะสำหรับผู้มีเสปิร์มน้อยมากๆ หรืออสุจิมรีโครงสร้างผิดปกติ
ืไม
นางสาวกรวดี ยิ่งยศกำจรชัย ชั้นปีที่ 2 ห้อง A
รหัสนักศึกษา 613601001