Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility) - Coggle Diagram
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
แบ่งออกเป็น2แบบ
แบบทุติยภูมิ หมายถึง ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อน หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลยเป็นเวลา12เดือน
แบบปฐมภูมิ
หมายถึง
ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์
หลังจากพยายามแล้วเป็นเวลา12เดือน
สาเหตุ
ฝ่ายหญิง
1.การทำานของรังไข่ผิดปกติ 2.ท่อนำไข่ 3.Endometriosis 4.Immunological
ฝ่ายชาย
1.Sperm dysfuntion 2.Sexual factors 3.ภาวะทางด้านจิตใจ
การตรวจร่างกาย
ฝ่ายหญิง
1.ตรวจทั่วไป เช่น Secondary sex 2.ตรวจต่อมไร้ท่อ 3.เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด 4.คอมดลูก 5.ตัวมดลูก 6.ท่อนำไข่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด ตรวจฮอรโมน
การวินิจฉัย
Hysterosalpingogram
Endoscopy (Laparoscopy,Hysteroscopy)
รังไข่ ได้แก่ BBT,Cx mucous
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน ได้แก่ Laparoscope
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ ได้แก่ PCT
เต้านม
ตรวจความผิดปกติของรังไข่
ตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
มากกว่า5 μ/dl = มีการตกไข่
มากกว่า10 μ/dl = มีการตกไข่ คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติ
ทำ Postcoital test
BBT chart
Sperm function tests
Postcoital test
ใช้ syringe ดูมูกบริเวณ posterior fornix มาป้ายบนแผ่นไลด์
ในช่วงเวลาตกไข่มูกจะใสและยืดได้ยาวกว่าที่จะขาด
หากพบตัวอสุจิแต่ไม่มีการเคลื่อนไหว แอาจแสดงถึงการอักเสบของปากมดลูก โดยเฉพาะหากตรวจพบว่ามีเม็ดเลือดขาวร่วมด้วย
ฝ่ายชาย
1.ตรวจทั่วไป
2.หนังหุ้มปลายองคชาต ลักษณะและรูเปิดท่อปัสสาวะ อัณฑะ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด ตรวจฮอร์โมน ตรวจน้ำอสุจิ
การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ
ปริมาตร ≥ 2มิลิลิตร
ความหนาแน่นของตัวอสุจิ ≥ 20ล้านตัว/มิลลิลิตร
จำนวนของอสุจิทั้งหมด ≥ 40ล้านตัว
การเคลื่อนที่ของอสุจิ ≥ ร้อยละ 50มีการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
รูปร่าง ≥ ร้อยละ14มีรูปร่างปกติ
จำนวนเม็ดเลือดขาว < 1ล้านตัว/มิลิลลิตร
ความเป็นกรด-ด่าง = 7.2หรือมากกว่า
การมีชีวิต ≥ ร้อยละ75
การตรวจอสุจิ
งดมีเพศสัมพันธ์ก่อนตรวจ 2-7 วัน
นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน1ชั่วโมงหลังเก็บได้
การรักษา
รักษาขั้นต้น
1.การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธ์
2.การกระตุ้นไข่
3.การผสมมเทีม
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง
(Intra-uterine insemination;IUI)
นำน้ำอสุจิที่ได้รับการคัดแยกฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่ แพทย์ใช้ยากระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่าหนึ่งใบเพื่อเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ให้
มากขึ้น
การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธ์
(assisted reproductive technologies;ART)
กระตุ้นการผลิต FSH และ LH หรือให้ยาซึ่งเป็นฮอร์โมนสังเคราะห์ไปกีดกันการทำงานของ
อีสโทรเจน ไม่ให้ไปยับยั้งการทำงาน
ของ GnRH ทำให้มีการผลิต
FSH และ LH ออกมา มีผลทำให้การตกไข่
มากกว่า1ใบ หลังจากนั้นนำไข่ออกมา
และนำมาใช้ตามการปฎิสนธินอกร่างกาย
GIFT
การนำเอาไข่และตัวอสุจิไปใส่ไว้ที่ท่อนำไข่เพื่อให้เกิดการปฏิสนธิหรือรวมตัวกันตามธรรมชาติ หลังจากนั้นหากไข่และอสุจิ
สามารถปฏิสนธิกันได้ก็จะมีการเจริญเติบโตเป็นตัวอ่อนและเดินทางมาฝังตัวในโพรงมดลูก และเกิดเป็นการตั้งครรภ์
ZIFT
ไข่และอสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้ว
จะถูกนำมาผสมกันและเพาะเลี้ยง
ในห้องปฏิบัติการ1วัน
ถ้าเห็นว่าเกิดการปฏิสนธิ
แล้วจะใส่ตัวอ่อนกลับ
เข้าสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้อง
ใส่ไปในท่อนำไข่
IVF
ไข่และอสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้ว
จะถูกนำมาผสมกันให้เกิด
การปฏิสนธิ ใช้เวลาเลี้ยง
ในห้องปฏิบัติการประมาณ
2-5วัน จากนั้นนำตัวอ่อน
ที่ได้ใส่เข้าไปในโพรงมดลูก
Micromanipulation - โดยการใช้เข็มเล็กๆเจาะเปลือกไข่แล้วให้เชื้ออสุจิวิ่งผ่านรูที่เจาะ หรือการฉีดเชื้ออสุจิเข้าใต้เปลือกไข่ หรือแม้แต่การฉีดเชื้ออสุจิเข้า Ooplasm โดยตรง
ICSI
ฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรง จะเกิดปฏิสนธิเป็นตัวอ่อน เหมาะสำหรับผู้ที่มีสเปิร์มน้อยมากๆ
ข้อบ่งชี้
ตัวอสุจิน้อยมาก
ตัวอสุจิมีรูปร่างผิดปกติ
Retrograde ejeculation
immunological factor