Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพครอบครัว กลุ่มคนและชุมชน, นางสาวปฐมาวดี ภูมิไชยา…
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพครอบครัว
กลุ่มคนและชุมชน
ปัจจัยภายใน
ด้านร่างกาย
พันธุกรรม
ความแตกต่างทางด้านร่างกาย
ความแตกต่างทางด้านสติปัญญา
ความแตกต่างด้านอารมณ์
ความแตกต่างทางสังคม
ความแตกต่างด้านบุคลิกภาพ
เพศ
โรคบางโรคพบบ่อยในเพศใดเพศหนึ่ง
เชื้อชาติ
เชื้อชาติบางเชื้อชาติป่วยเป็นโรคบางโรคมากกว่าเชื้อชาติอื่น
อายุและระดับพัฒนาการ
อายุหรือวัยที่ต่างกันการเกิดโรคที่ต่างกัน
ด้านจิตใจ ทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม ความเครียด
ทัศนคติ
การับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การรับรู้ถึงภาวะคุกคาม
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับ
การรับรู้อุปสรรค/ค่าใช้จ่าย
การรับรู้ความสามารถตนเอง
ค่านิยม
การให้คุณค่าต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ค่านิยมของบุคคลได้รับอิทธิพลจากสังคม บุคคลพยายามแสดงออกถึงค่านิยมของตนที่มีโอกาส ค่านิยมของสังคมจะมีอิทธิพลต่อการประพฤติปฏิบัติของบุคคลในสังคมนั้นๆ
ความเครียด
หากมีความเครียดในระดับต่ําหรือปานกลางจะเป็นตัวกระตุ้นในบุคคลมีความกระตือรือร้น หากมีความเครียดระดับสูงจะสูงผลให้ร่างกายเกิดความเปลี่ยนแปลงการทํางานของอวัยวะต่างๆเปลี่ยนไป
พฤติกรรมสุขภาพหรือแบบแผนการดําเนินชีวิต
วิถีชีวิตครอบครัวไทยเปลี่ยนแปลงไป มีการใช้ความรุนแรงในครอบครัวมากขึ้น มีการเปลี่ยนวิถีชีวิตแบบชนบทไปเป็นแบบเขตเมือง เสี่ยงต่อการเกิดโรคเกี่ยวกับสารเคมี วัฒนธรรมความเป็นอยู่เปลี่ยนแปลงไป
ด้านความรู้ การเรียนรู้ และสติปัญญา
ครอบครัวมีบทบาทอย่างมากในการพัฒนาด้านความรู้ การเรียนรู้และสติปัญญาให้แก่สมาชิกในครอบครัวที่เป็นเด็ก ลักษณะการเรียนรู้จะเป็นลักษณะองค์รวม การเล่นก็เป็นบริบทที่ ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีได้ด้วย
ด้านสังคม บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ และสัมพันธภาพของสมาชิกในครอบครัว
และชุมชน ของครอบครัว กลุ่มบุคคลและชุมชน วิถีการดําเนินชีวิตของสมาชิกในครอบครัว กลุ่มคนและชุมชน
การเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว จะทำให้สมาชิกในครอบครัวและผู้ป่วยเกิดข้อจำกัดในการทำกิจกรรมตามปกติ จะส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคมของผู้ป่วยนอกจากนี้ การเจ็บป่วยยังมีผลกระทบต่อครอบครัวที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการ การดูแลสมาชิกที่เจ็บป่วย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบภายในครอบครัว คุณภาพชีวิตของครอบครัวลดลง ค่าใช้จ่ยเพิ่มมากขึ้น การเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมลดลง
ปัจจัยภายนอก
สภาพเศรษฐกิจ การเมือง สังคม การปกครอง
ผู้ที่มีระดับการศึกษาที่สูงดูจะมีความสุขสูงกว่าผู้ที่มีระดับการศึกษาที่ต่ํากว่า และผู้ที่มีรายได้/รายจ่ายสูงกว่าดูจะมีความสุขสูงกว่าผู้ที่มีรายได้/รายจ่ายต่ํากว่า ผู้ที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพ มีค่าเฉลี่ยความสุขต่ํากว่าผู้ที่อาศัยอยู่ในต่างจังหวัด
สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
สิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุดซึ่งมีผลต่อสุขภาพ เชื้อโรคต่างๆ ที่ทำให้เิกดโรค เช่น โควิด-19
สิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ขึ้นซึ่งมีผลตjอสุขภาพ ได้แก่ สัตว์พวกหนอนพยาธิต่างๆ พวกแมลงต่างๆ
สิ่งแวดล้อมพวกพืชต่างๆ นอกจากเชื้อรา
สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต
อาหาร
ขยะ
จราจร
วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
กระแสที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตของผู้คน
Globalization เป็นแรงขับเคลื่อนให้เกิดการเคลื่อนไหลของทุน สินค้า บริการ และผู้คนอย่างเสรี
Digitization การติดต่อสื่อสารมีการเปลี่ยนรูปแบบการสื่อสารกว้างและไร้พรมแดนมากขึ้น
Urbanization ปฏิสัมพันธ์ของผู้คนจะเปลี่ยนแปลงไปจากสังคมชนบทเป็นสังคมเมือง
Individualization มีความคิดความอ่านเป็น ของตัวเองมากขึ้น ต้องการแสดงออกมากขึ้น ผลเชิงบวก
Communization ในโลกที่ยิ่งเชื่อมต่อกันมากขึ้นเท่าไหร่ ความเสี่ยงและภัยคุกคามส่งผลกระทบทั่วโลก
กระแสที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตของผู้คน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิติ
การเปลี่ยนแปลงในวัฒนธรรมของการดําเนินธุรกิจ
การเปลี่ยนแปลงในวัฒนธรรมของการทํางาน
การเปลี่ยนแปลงในวัฒนธรรมของการดํารงอยู่
การเปลี่ยนแปลงในวัฒนธรรมของการเรียนรู้
ไม่มีการผูกขาดความรู้
ไม่มีการผูกขาดข้อมูล
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเกิดขึ้นใหม่ๆ
ระบบสุขภาพ
องค์ประกอบของระบบสุขภาพ
การสร้างองค์ความรู้ด้านสุขภาพ
การเผยแพร่ความรู้และข่อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
การสร้างและพัฒนากําลังคนด้านสุขภาพ
การส่งเสริม สนับสนุน การใช้และการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ
การเงินการคลังด้านสุขภาพ
การบริการสาธารณสุขและการสร้างหลักประกัน
สุขภาพจิต
การป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคาม
สุขภาพทางปัญญา
การสร้างเสริมสุขภาพ
การอภิบาลระบบสุขภาพ
สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่
วัตถุประสงค์ของการดูแลสุขภาพที่บ้าน
เพื่อให้เกิดการดูแลต่อเนื่อง
เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีความมั่นใจและสามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพที่บ้านได้
เพื่อให้ญาติรู้วิธีในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยที่บ้านและ ร่วมดูแลรักษาผู้ป่วย
เพื่อให้แพทย์ทําความรู้จักและสานต่อความสัมพันธ์อันดีกับผู้ป่วยและญาติในระยะยาว
เพื่อให้แพทย์สามารถประเมินทั้งโรค และความเจ็บป่วย ได้อย่างถูกต้อง
เพื่อให้แพทย์สามารถประเมินภาวะความเสี่ยงต่างๆ ต่อสุขภาพของครอบครัวนั้นๆ
สถานการณ์และปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อครอบครัว
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
อิทธิพลของสื่อเทคโนโลยี และสารสนเทศ
การเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์ครอบครัวและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงขนาดครอบครัว
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสถาบันครอบครัว
ปัญหาครอบครัว
โครงสร้างประชากร
ประชากรที่อยู่ในวัยสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในขณะที่ประชากรวัยเด็ก และวัยแรงงานมีแนวโน้มที่ลดลง การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของประชากรในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบอย่างกว้างขวางในระดับมหภาค และจุลภาค
ผลกระทบจากการที่ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
ผลกระทบต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ส่งผลกระทบต่อการออมทั้งในระดับครัวเรือนและระดับประเทศ
ผลกระทบด้านแรงงาน เกิดจากสมรรถนะทางกายภาพที่ลดลงเมื่ออายุมากขึ้น
ผลกระทบต่องบประมาณของรัฐบาล เกิดจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจาก
นางสาวปฐมาวดี ภูมิไชยา รหัส611001023