Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ, นางสาวชุติกาญจน์ พร้อมมูล …
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ
ภาวะสําลักสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
ปัญหาที่เกิดตามหลังการสําลัก
ทําให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนต้นอันตรายต่อชีวิต
เกิดการอุดกั้นของหลอดลมส่วนปลาย ทําให้เกิดภาวะปอดแฟบ ปอดพอง หอบหืด
เกิดการอุดกั้นการระบายของเสมหะในทางเดินหายใจ เกิดปัญหาการอักเสบ ติดเชื้อตามมา
ทําอย่างไรเมื่อมีสิ่งแปลกปลอม
อุดกั้นทางเดินหายใจเด็ก
เด็กอายุน้อยกว่า 1ขวบ
วางเด็กคว่ำลงบนแขนและวางแขนลงบนหน้าตักโดยให้ศรีศพของเด็กอยู่ต่ำ
เคาะหลัง5ครั้ง ติดต่อกันโดยเคาะแถวๆกึ่งกลางกระดูกสะบักทั้ง2ข้าง
จากนั้นพลิกเด็กให้หงายบนแขนอีกข้างวางบนหน้าตักโดยให้ศรีษะอยูต่ำ
แล้วกดหน้าอกโดยใช้ 2นิ้วระหว่างหัวนมทั้ง 2ข้างลงมา1ความกว้างมือ
ทําซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
หากเด็กหมดสติ ให้ทำการประเมินการหายใจ
ให้การช่วยเหลือการหายใจสลับกับการเคาะหลังและกดหน้าอก
เด็กที่มีอายุมากกว่า1ปี
กระตุ้นให้เด็กไอเอง
ถ้าเด็กไม่สามารถพูดหรือ มีอาการหนักอย่างใดอย่างหนึ่งให้ทำการกดท้องโดยยืนด้านหลังและยื่นแขนทั้ง 2ข้างกดบนกึ่งกลางหน้าท้องเหนือสะดือเด็ก
ทําซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
หากเด็กหมดสติให้ประเมินการหายใจ
กรณีผู้ช่วย2คนขึ้นไป
อัตราส่วนการกดหน้าอกและการช่วยหายใจสําหรับเด็กเล็ก=15.2
กรณีผู้ช่วยเหลือ1คน
การกดหน้าอกสําหรับผู้ใหญ่ เด็กโตและเด็กทารก
อัตราส่วนการกดหน้าอกและการช่วยหายใจ=30.2
ตําแหน่งและอัตราความเร็วจะกดเหมือนกัน
ความลึกและลักษณะการใช้มือในการกดจะแตกต่างกัน
ความแตกต่างระหว่างการกดหน้าอกในแต่ละช่วงอายุ
ผู้ใหญ่
ลึก 5-6 ซม (2-2.4นิว )
100-120 ครั้ง/นาที
ตําแหน่งกึ่งกลางท่อนล่างกระดูกหน้าอก
กดโดยใช้สองมือ
เด็กโต
100-120 ครั้ง/นาที
ตําแหน่งกึ่งกลางท่อนล่างกระดูกหน้าอก
ลึก 5 ซม (1/3ความหนาของทรวงอก) กดโดยใช้มือเดียวอีกข้างให้เปิดทางเดินหายใจ
เด็กทารก
100-120 ครั้ง/นาที ตําแหน่งกึ่งกลางท่อนล่างกระดูกหน้าอก
ลึก 4 ซม (1.5นิว 1/3ความหนาของทรวงอก)
กดโดยใช้นิ้วมือสองนิว มืออีกข้างให้ทำการเปิดทางเดินหายใจ
คําแนะนําเพื่อป้องกันการสําลักสิ่งแปลกปลอม
เลือกชนิดและขนาดของอาหารที่เหมาะสม
ไม่ควรป้อนอาหารเด็ก ในขณะทีเด็กกําลังวิ่งเล่นอยู่
เลือกชนิด รูปร่างและขนาดของของเล่นให้เหมาะสมกับวัยของเด็ก
จัดเก็บสิ่งของที่อาจเปนอันตราย
การจมน้ำ
Drowning
ผู้ที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ
Near-Drowning
ผู้ที่จมน้ำแต่ไม่เสียชีวิตทันที
บางรายอาจเสียชีวิตในเวลาต่อมา
การจมน้ำจืด
จะซึมผ่านเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตของปอดอย่างรวดเร็ว
เกิด hypervolemia ทําให้ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย
อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกhemolysis
การจมน้ำเค็ม
ทําให้เกิดภาวะ pulmonary edema
ปริมาตรที่ไหลเวียนในร่างกายลดลง
เกิดภาวะ hypovolemia
ระดับเกลือแร่ในร่างกายสูงขึ้น
หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวาย อาจช๊อกได้
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นทีไม่ถูกหลัก
อุ้มเด็กพาดบ่าแล้วเขย่า
กระทุ้งบริเวณหน้าท้อง
เด็กอาจเกิดอาการชาจากแรงกระแทกเนื่องจากนาทีออกมาเป็นน้ำกระเพาะ ไม่ใช้น้ำที่เด็กสําลักเข้าไป
วิธีช่วยเด็กจมน้ำที่ดีที่สุด
กรณีที่เด็กรู้สึกตัว
รีบเช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้าใช้ผ้าคลุมตัวให้เกิดความอบอุ่นให้นอนท่าตะแคงกึ่งคว่ำและรีบนำตัวส่ง ร.พ ให้เร็วที่สุด
กรณีที่เด็กหมดสติ
เช็คว่ายังลมหายใจอยู่ไหมหัวใจเต้นไหม
ถ้าไม่ให้โทรเรียกรถพยาบาลหรือหน่วยกู้ภัยด่วน
ช่วยชีวิตขั้นฐานโดยนวดหัวใจสลับกับการช่วยหายใจ
กระดูกหัก
แบ่งตามรอยที่มีการหักของกระดูก
กระดูกหักทั่วไป
กระดูกแตกออกเป็น2ชิ้น
กระดูกหักยุบเข้าหากัน
ภาวะที่กระดูกทั้ฃสองด้านได้รับแรงกดส่งผลให้กระดูกแตกทั้งสองด้าน เด็กเล็กมักเกิดกระดูกหักฝังที่แขน
กระดูกเดาะ
กระดูกที่แตกเพียงด้านเดียว
ส่วนกระดูกอีกด้านโก่งไปตามแรงกดที่ปะทะเข้ามา
การมีรอยแยกรอยแตกหรือมีความไม่ต่อเนื่องกันของเนื้อกระดูก ส่วนใหญ่มักเกิดจากอุบัติเหตุที่มีแรงมีกระทํามากจนเกินไปทําให้กระดูกหักและเกิดอาการเจ็บปวด
เคลื่อนไหวไม่ได้หรือเคลื่อนไหวผิดปกติ
การปฐมพยาบาลกระดูกหัก
การปฐมพยาบาล
ถ้าบาดแผลใหญ่หรือเลือดยังไม่หยุดไหล
ไหลรุนแรงให้หาสายรัดมาผูกรัดเหนือบาดแผลให้
แน่นๆให้คลายสายรัดทุก ๆ 15 นาทีโดยคลายประมาณ30-60วินาที
ดามกระดูกที่หัก
ดามง่ายๆโดยใช้แผ่นไม้พลาสติกแข็งกระดาษแข็งกล่องกระดาษทําเป็นเฝือกวางแนบกับส่วนที่หัก
ประคบน้ำเย็นตรงบาดแผล
เมื่อดามเสร็จแล้วถ้าเป็นไปได้ให้หาถุงนาแข็งมาประคบทันทีระหว่างที่รอรถพยาบาล
ประเมินบริเวณที่บาดเจ็บ
ทำการปฐมพยาบาลด้วยวิธีCPR
ถ้าส่วนที่หักเป็นนิ้วมือให้ใช้ไม้ไอศกรีมดามนิ้ว
งดให้ผู้ป่วยดื่มน้ำาหรืออาหารจนกว่าจะไปพบแพทย์ เพราะผู้ป่วยบางรายอาจต้องผ่าตัด
หลังการใส่เฝือกหากปวดหรือมีอาการคับเฝือกมากเขียวคล่ำบวมหรือมีอาการชา ซ่าๆ เป็นต้น ควรรีบไปพบแพทย์ทันที
ผู้ปวยที่กระดูกหักตรงขาส่วนบน กระดูกสันหลัง ศีรษะหรือคอ
อุ้งเชิงกรานหรือสะโพก ไม่ควรเคลื่อนไหวร่างกาย
หากกระดูกหักโผล่ออกมานอกเนื้อห้ามดึงกระดูกให้กลับเข้าที่ควรใช้าผ้าที่สะอาดปิดปากแผลเอาไว้ใช้เฝือกดาม
ถ้าส่วนที่หักเป็นแขนหรือมือให้ใช้ผ้าคล้องคอ
อย่าดึงข้อหรือจัดกระดูกให้เข้าที่ด้วยตนเอง บริเวณที่ดามจะต้องถูกวางให้สบายที่สุด
แบ่งตามบาดแผล
กระดูกหักชนิดไม่มีแผลหรือแผลไม่ถึงกระดูกที่หัก
จะมีอาการกระดูกหักเพียงอย่างเดียวโดยไม่มีบาดแผลทีผิวหนัง
กระดูกหักแบบแผลเปิดหรือแผลลึกถึงกระดูกที่หัก
จะมีบาดแผลลึกถึงกระดูกหรอื กระดูกทีหกั อาจทิ่มทะลุออกมานอกเนื้อ อาจทําให้ตกเลือดรุนแรง เส้นประสาทถูกทําลายหรือติดเชื้อได้อาจทําให้ เกิดการสูญเสียแขนและขา
บาดแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก
สาเหตุ
ไฟ
วัตถุที่ร้อน
น้ำร้อน
น้ำมันร้อนๆ
กระแสไฟฟ้า
สารเคมี
รังสี
การเสียดสีอย่างรุนแรง
อาการแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกขนาดความกว้างของบาดแผล
พื้นที่บาดแผลที่มีขนาดใหญ่ทําใหอร่างกายสูญเสียน้ำโปรตีนและเกลือแร่เกิดช็อกได้และอาจมีโอกาสติดเชื้อ
แผลขนาด 1 ฝ่ามือของผู้ป่วยเท่ากับ 1% ของผิวหนังทั่วร่างกาย
ตําแหน่งของบาดแผล
ที่มือหรือตามข้อพับต่างๆ อาจทําให้ข้อนิ้วมือและข้อพับต่างๆ มีแผลเป็นดึงรั้งทําให้เหยียดออกมาไม่ได้
ถ้าบาดแผลที่ใบหน้าอาจทําให้เป็นแผลเป็น
ความลึกของบาดแผล
ระดับที่1 ผิวหนังที่มีการทําลายของเซลล์หนังกําพร้าชั้นผิวนอกเท่านั้น
ระดับที่2
ชนิดตื้น
บาดแผลที่การทําลายของหนังกําพร้าชั้นผิวนอกและชั้นในสุดและหนังแท้ส่วนทีอยู่ที่ตื่นๆใต้หนังกําพร้า
ชนิดลึก
บาดแผลที่มีการทําลายของหนังแท้ส่วนลึกไม่ค่อยมีตุ่มพอง
แผลเปนสีเหลืองขาวแห้งไม่ค่อยปวดอาจเกิดแผลเป็นได้แต่ไม่มาก
ระดับที่3 บาดแผลที่มีการทําลายของหนังกําพร้าและหนังแท้ทั้งหมดรวมทั้งต่อมเหงื่อขุมขนและเซลล์ประสาทอาจกินลึกถึงชั้นกระดูกและกล้ามเนื้อ
การพยาบาล
ถ้าบาดแผลเกิดมีขนาดกว้างอาจทําให้ผู้ป่วยเกิดภาวะช็อกได้รวดเร็วหรือมีบาดแผลที่ใบหน้าจะทำให้ผู้ป่วยหายใจลําบาก ควรรีบนําส่งโรงพยาบาลทันที
ล้างแผลและแช่แผลด้วยน้ำสะอาดและใช้ผ้าก๊อตหรือผ้าแห้งสะอาดปิดแผลไว้
แผลที่เป็นตุ่มใสไม่ควรเอาเข็มไปเจาะเพื่อระบายเอาน้ำออกอาจทำให้ติดเชื้อได้ถ้าเข็มไม่สะอาด
การรักษาแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก
ยาปฏิชีวนะทาเฉพาะที่ที่นิยมกันมากทีสุดคือ 1%
ซิลเวอร์ซัลลฟาไดอะซีน เพราะมีฤทธิ์กว้าง
ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลกว้างแพทย์จะให้น้ำ ริงเกอร์แลกเดท
สำหรับแผลที่หายโดยใช้เลามากกว่า 3อาทิตย์หรือ แผลที่หายหลังจากการปลูกถ่ายผิวหนังแนะนําใหัวส่ผ้ายืดเพื่อปองกันการเกิดแผลเป็นนูนหนา
สารพิษ (Poisons)
สารเคมีที่มีสภาพเป็นของแข็งของเหลวหรือก๊าซซึ่งสามารถเข้าสู่ร่างกายโดยการรับประทานการฉีดการหายใจหรือการสัมผัสทางผิวหนังแล้วทําให้เกิดอันตรายต่อโครงสร้างและหน้าที่ร่างกาย
สารพิษจําแนกตามลักษณะการออกฤทธิ์
1.ชนิดกัดเนื้อ(Corrosive) ทําให้เนื้อเยื่อร่างกายไหม้พอง ได้แก่ สารละลายพวกกรดและด่างเข้มข้นน้ำยาฟอกขาว
ชนิดทําให้ระคายเคือง (Irritants)ทําให้เกิดอาการปวดแสบปวดร้อนและอาการอักเสบในระยะต่อมา ได้แก่ฟอสฟอรัสสารหนูอาหารเปนพิษซัลเฟอรไดออกไซด์
3.ชนิดที่กดระบบประสาท (Narcotics)ทําให้หมดสติหลับลึกปลุกไม่ตื่นม่านตาหดเล็ก ได้แก่ ฝิ่นมอร์ฟีนพิษจากงูบางชนิด
ชนิดที่กระตุ้นระบบประสาท (Dililants)ทำให้เกิดอาการเพ้อคลัง ใบหน้าและผิวหนังแดงตื่นเต้นชีพจรเต้นเร็วช่องม่านตาขยายได้แก่ยาอะโทรปืนลําโพง
การประเมินภาวะการได้รับสารพิษ. และปฐมพยาบาล
การคลื่นไส้อาเจียนปวดท้องน้ำลายฟูมปากหรือมีรอยไหม้นอกบริเวณริมฝีปาก มีกลิ่นสารเคมีบริเวณปาก เพ้อชัก หมดสติมีอาการอัมพาตบางส่วนหรือทั่วไป
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพิษทางปากทําให้สารพิษเจือจางให้ส่งโรงพยาบาลเพื่อทำการล้างท้องเอาสารพิษออกจากกระเพาะอาหารทําให้ผู้ป่วยอาเจียนเพื่อเอาสารพิษออกจากกระเพาะอาหาร
ข้อห้ามในการทําให้ผู้ป่วยอาเจียนหมดสติได้รับสารพิษชนิดกัดเนื้อเช่น กรดด่างรับประทาน สารพิษพวกน้ำมันปิโตรเลียมเช่น น้ำมันก๊าดเบนซินให้สารดูดซับสารพิษในระบบทางเดินอาหารเพื่อลดปริมาณการดูดซึมสารพิษเข้าสู่ร่างกายสาร
ที่ใช้ได้ผลดีคือ Activated charcoal มีลักษณะเป็นผงถ่านสีดําใช้ 1ช้อนโต๊ะละลายน้ำ1แก้วให้ผู้ป่วยดื่มถ้าหาไม่ได้อาจใช้ไข่ขาว 3-4ฟองตีให้เข้ากัน
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารกัดเนื้อ(Corrosive substances) กรดด่างเป็นสารเคมีที่พบในชีวิตประจําวันกรดซัลฟรกิ กรดไฮโดรคลอริก โซเดียมคาร์บอเนต
อาการและอาการแสดงไหม้บริเวณริมฝีปาก ปากลําคอและท้องคลื่นไส้อาเจียนกระหายน้ำและมีอาการภาวะช๊อคได้แก่ ชีพจรเบาผิวหนังเย็นขึ้นการปฐมพยาบาลถ้ารู้สึกตัวดีให้ดื่มนม
การปฐมพยาบาลผู้ทีได้รับสารพวกน้ำมันปิโตเลียมสารพวกนี้ได้แก่น้ำมันก๊าสเบนซิน ยาฆ่าแมลงชนิดน้ำมันเช่น DTT
อาการและอาการแสดงแสบร้อนบริเวณปากคลื่นไส้อาเจียนซึ่งอาจสําลักเข้าไปในปอดทําให้หายใจออกมามีกลิ่นน้ำมันหคือมีกลิ่นน้ำมันปิโตเลียมอัตราการหายใจและชีพจรเพิ่มอาจมีอาการขาดออกซิเจนอาจรุนแรงมาก มีเขียวตามปลายมือปลายเท้า
การปฐมพยาบาลผู้ทีได้รับยาแก้ปวดลดไข้
อาการและอาการแสดงของผู้ทีได้รับยาแอสไพรินหูอื้อเหมือนมีเสียงกระดิง ในในหูการได้ยินลดลงเหงือออกมากปลายมือปลายเท้าแดงชีพจรเร็วคลื่นไส้อาเจียนหายใจเร็วใจสั่น
อาการและอาการแสดงของผู้ที่ได้รับยาพาราเซตามอลยานี้จะถูกดูดซึมเร็วมากโดยเฉพาะในรูปของสารละลายทําให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียนง่วงซึมเหงื่อออกมากความดันโลหิตต่ำสับสนเบื่ออาหารการปฐมพยาบาลทําให้สารพิษเจือจางทําให้อาเจียน
การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพิษทางการหายใจก๊าซที่ทําให้ร่างกายขาดออกซิเจนเกิดอาการวิงเวียนหน้ามืดเป็นลมหมดสติถึงแก่ความตายได้เช่นคาร์บอนมอนนอกไซด์คาร์บอนไดออกไซด์ไฮโดรเจนไนโตรเจนก๊าซที่ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ
กลั้นหายใจและรีบเปิดประตูหน้าต่างเพื่ออากาศถ่ายเทมีอากาศบริสุทธิ์เข้ามาในห้องนําผู้ปวยออกจากบริเวณที่เกิดเหตุไปยังที่มีอากาศบริสุทธิ์
ประเมินการหายใจและการเต้นของหัวใจ
การปฐมพยาบาลเมื่อสารเคมีเข้าตาล้างตาด้วยน้ำนาน 15นาที
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมีเพราะความร้อนที่เกิดจากปฏิกิริยาอาจทําให้เกิดอันตราย
นางสาวชุติกาญจน์ พร้อมมูล
[เลขที่30ห้อง36/1รหัสนักศึกษา612001031]