Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแล ผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับ…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแล ผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับ ความผิดปกติของสมอง และไขสันหลัง
การประเมินทางระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัว
Full consciousness/ Fully awake
Confusion
Disorientation
Delirium
Lethargy
Drowsiness/ Obtundation
Stupor
Coma - Semi coma - Coma
การประเมินสัญญาณชีพ
การประเมินระดับความรู้สึกตัว
Eye opening
Motor response
Verbal response
การตรวจปฏิกิริยารูม่านตา
ขนาด
รูปร่าง
ปฏิกิริยาต่อแสง
การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการ
การถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะและกระดูกสันหลัง
การถ่ายภาพสมองด้วยคอมพิวเตอร์
การถ่ายภาพโดยใช้คลื่นเสี่ยง
การตรวจหลอดเลือดสมองโดยวิธีฉีดสารทึบแสง
การเจาะหลัง
เยื่อห้มุสมองอักเสบ (Meningitis)
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทเีรีย ได้แก่ Meningococci , Pneumococci , และ H aem ophilus influenzae
การบาดเจบ็ของสมอง
การติดเชื้อในร่างกาย
การติดเชื้อหลังผ่าตัดสมอง
การติดเชื้อในเยื่อหุ้มสมอง
การฉีดยาเข้าทางไขสันหลัง
อาการแสดง
คอแข็ง (Stiff neck)
Brudzinski’s sign
Kernig’s sign
มีไข ้ปวดศรีษะ หนาวสนัท
คลื่นไส ้อาเจียน
ผลตรวจ CSF พบ
น้ำไขสันหลังสีขุ่น
ผล Gram stain พบ 70 – 80 %
ความดนัของ CSF สูงขึ้นปานกลาง
ค่าโปรตีนใน CSF สูงขึ้น
ค่ากลูโคสใน CSF ลดลง
WBC มากขึ้น
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะช็อคจากการติดเชื้อ
ความดันในกะโหลกศรีษะสูง
สมองบวมน้ำ
Hydrocephalus
การรักษาและการดแูล
1.การให้ยาปฏชิวีนะ (Antibiotic) ได้แก่ Cephalosporins, Rifampicin และ Vancomycin โดยให้อย่างน้อย 10 วัน
รักษาสมดุลของสารน้ำ และอเิล็กโทรไลด์ในรา่งกาย
ประเมินอาการทางระบบประสาท
เฝ้าระวังภาวะชัก และเตรียมความพร้อมเพื่อให้ความ ช่วยเหลือผู้ป่วยเมื่อเกิดภาวะชัก
ฝีในสมอง (Brain Abscess)
สาเหตุ
1.เกิดจากการลุุกลามของการอักเสบบรเิวณใกลเ้คยีง เช่น หู Nasal sinus, Mastiod sinus, หัวใจ, ปอด และอวัยวะอื่นๆ
เกิดหลังได้รับการผ่าตัดภายในกะโหลกศรีษะ
เชื้อที่พบบ่อย คือ Staphylococci และ Toxoplasma (ในผู้ป่วย HIV)
อาการแสดง
ปวดศรีษะ ง่วงซึม สับสน
มีไข้ หนาวสั่น
ความดันในกะโหลกศรีษะสูง
ความผิดปกตขิองระบบประสาทชั่วคราว เช่น อ่อนแรงซีกใดซีกหนึ่ง พูดไม่ได้
การวินิจฉัย
CT
MRI
การรักษาและการดูแล
. 1.ให้ยาปฏชิวีนะ ที่นิยมให้ คือ Penicillin
2.ให้ยาปฏชิวีนะร่วมกับการผ่าตัด
stereotactic
เนื้องอกสมอง (Brain Tumors)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง(Etiology)
พันธุกรรม (Genetic)
สิ่งแวดล้อม (Environment) เช่น สารเคมี
บาดเจ็บที่ศรีษะ (Head trauma)
เชื้อไวรัส (Virus)
การฉายรังสี (Radiation)
เคมีบำบัด (Immunosuppressant)
อาการแสดงทางคลินิก
อาการสูญเสีบหน้าที่ของสมองบางส่วน (Focal Neurological Deficit)
อาการปวดศรีษะ
อาการแสดงของการเพิ่มความดันในกะโหลกศรีษะ
อาการเปลี่ยนแปลงของความรักสึกตัว
อาการชัก
อาการของการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนผิดปกติ เมื่อมีเนื้องอกต่อมใต้ สมอง(Pituitary)
อาการคล้ายโรคหลอดเลือดสมอง(Tumor TIA, Stroke like) เมื่อมีการอุดตันหลอดเลือด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
และตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ - CT-scan -MRI
การรักษา
การผ่าตัดรักษา
การใช้รังสีรักษา
การให้เคมีบำบัด
การรักษาด้วยยา Steroid ลดภาวะบวมของสมองได้ด้วยการให้ฮอร์โมนทดแทนในเนื้องอกต่อมใต้สมอง Pituitay
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยมีความพิการ ต้องการ กายภาพบำบัด
6.การป้องกันและรักษาโรคแทรก
โรคลมชัก:ให้ยากันชัก
โรคติดเชื้อ:ให้ยาปฏชิวีนะ
ภาวะเกลอืแรผ่ดิปกติ:เกลอืโซเดียม
ปวดศีรษะ (Headache)
Tension Headache
อาการ
รู้สีกเหมือนมีเชือกมารัด โดยไม่ผ่อนคลายเลย
กล้ามเนื้อของคอด้านหลังแข็งตึง
ความรุนแรงไม่สม่ำเสมอ ขึ้นๆลงๆ
มีอาการปวดนานกว่า 15 วัน ใน 1 เดือน
ปัจจัยกระตุ้น - ความอ่อนล้า
Cluster Headache
พบในเพศหญงิมากกวา่เพศชาย - บางครั้งจัดอยู่ในกลุ่ม Migraine
อาการ
ปวดรอบกระบอกตา เป็นๆหายๆ ติดต่อกันนาน
อาการปวดอยู่นานตั้งแต่ 15 นาที ถงึ 3 ชั่วโมง
ลักษณะอาการปวดเป็นแบบปวดลึกๆน่ารำคาญ
อาจมี Honner’s sysdrome คือ รูม่านตาม เล็ก เยื่อตาขาวสีแดง น้ำมูก น้ำตาไหล
อาการปวดจะหายไปเป็นเวลาหลายเดือนถึงหลายปี และเกิดมีอาการอีก
อาการจะมากขึ้นเมื่อดื่มแอลกอฮอล์
พบในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ใบไม้รว่ง
การรักษาและการดูแล
ให้ยา Prednisone, Lithium methysergide, Ergotamine และ Verapamil
การให้ออกซิเจน mask 9 liter/min หรือสูดดมออกซิเจน 100% นาน 15 นาที อาการปวดจะทุเลาลง
หยอด Lidocaine ชนิด 4% topical หรือ 2% viscous ทางจมูก
Migraine Headache
สาเหตุ - เกิดจากหลอดเลือดหดตัวทำให้ขาดเลือดขึ้นไปสมอง
ปัจจัยกระตุ้น
ยาลดความเครียด
การอดอาหาร
กินอาหารที่มีสาร Tyramine
อาการ
ปวดศรีษะข้างเดียว ซึ่่งเป็นด้านตรงข้ามกับข้างที่มีพียาธิสภาพ
กลัวแสง เสียง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
มีอาการเตือนทางตามาก่อนปวดศรีษะ 20 นาที เช่น เห็น แสงวบูวาบ
อาการอื่นที่อาจพบร่วมด้วย 12 –24 ชั่วโมง ก่อนมี อาการ เช่น สบายมากเกินปกติ เคลิบเคลิ้ม อ่อนล้า หาว อยาก กินของหวาน
อาการปวดจะหายภายใน 4 –72 ชั่วโมง
การรักษาและการดูแล
จัดสิ่งแวดล้อมที่สงบ ไม่มีแสงมาก
ให้ยา Aspirin หรือ Paracetamol
หากไม่ได้ผล พจิารณาให้ยา Butalibital, Caffeine, Ibuprofen (600 –800 mg), Naproxan (375 –750 mg) Isometheptene compound 1 –2 capsule ทางปาก
Ergotamine ทางทวารหนัก
Dihydroergotamine ทางหลอดเลือดดำ
โรคลมชัก (Epilepsy
สาเหตแุละปัจจัยเสียง
การได้ร้บการบาดเจ็บทศรีษะอย่างรุนแรง
มีการทิ่มแทงเข้าไปในเนื้อสมอง (50%)
ความพิการของสมองตั้งแต่เกิด การบาดเจ็บของสมอง ระหว่างคลอด
ปัญหาเกี่ยวกับการเผาผลาญ เช่น ภาวะขาดออกซิเจน น้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซี่ยมในเลือดต่ำ
การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท ได้แก่ โรคหลอดเลอืดสมอง เนื้องอกในสมอง ตืดเชื้อ บาดเจ็บซ้ำๆ ติดสุราเรื้อรัง
ชนิดของการชัก
การชักเฉพาะที่ (Partial seizure)
การชักเฉพาะที่แบบไม่หมดสติ
อาการชักเฉพาะที่ ที่มีอาการผิดปกติของการ เคลื่อนไหว (Motor manifestation) : กระตุกที่ใดที่หนึ่ง
อาการชักเฉพาะที่ ที่มีอาการผิดปกติของการรับรู้ (Somatosensory manifestation) : ชา เจ็บ เห็นแสงวูบวาบ
การชักเฉพาะที่แบบซับซ้อน
การชักเฉพาะที่ร่วมกับการเคลื่อนไหวที่ไม่รู้สึกตัว (Complex partial seizure with Automatisms) : เม้มปาก เคี้ยว
การชักเฉพาะที่นำไปสู่การชักทั้งตัว (Partial seizure evolving to secondary generalized seizure) : อาการชัดเริ่มจุดใดจุดหนึ่ง และลามไปทั้งตัว
การชักทั้งตัว (Generalized seizure)
Absence seizure
Myoclonic seizure
Clonic seizure
Tonic – Clonic seizure (Grand mal)
การวินิจฉัย
การซักประวัติเกี่ยวกับการชัก
2.การตรวจพิเศษ
-Electroencephalography (EEG)
-CT Scan
-MRI
การรักษา
การป้องกันอันตรายระหว่างชัก
ให้ยากันชักตามแผนการรักษา เช่น Phenytoin, Barbiturates, Valpoatesodium เป็นต้น
การผ่าตัด (25%)
นางสาวเข็มทราย มุมทอง รหัส 612501015