Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก(infertility) - Coggle Diagram
ภาวะมีบุตรยาก(infertility)
ภาวะมีบุตรยากแบบปฐมภูมิ(Primary infertility)
การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์หลังจากที่ได้พยายามแล้วเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ(Secondary infertility)
การมีบุตรยากที่ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อนอาจจะสิ้นสุดลงด้วยการแท้งหรือการคลอดก็ตาม หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลย
สาเหตุ
ฝ่ายหญิง(Female infertility
Endometriosis พบร้อยละ 20
Immunological พบร้อยละ 5
ท่อนำไข่พบร้อยละ 30
Other พบร้อยละ 5
การทำงานของรังไข่ผิดปกติพบร้อยละ 40
ฝ่ายชาย(Male infertility)
Sexual factors พบร้อยละ 10 เช่น Electile dysfunction, Premature dysfunction ฯ
Other พบร้อยละ 10
Sperm dysfunction พบร้อยละ 80 เช่น เชื้ออสุจิ น้อย
ภาวะทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียดความ วิตกกังวล ก็เป็นสาเหตุให้เกิดภาวะมีบุตรยากได้
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
การตรวจต่อมไร้ท่อ
Hypothalamus, Pituitary, Thyroid
การตรวจเฉพาะระบบสตรี
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด คอมดลูก ตัวมดลูก ท่อนำไข่
การตรวจร่างกาย
Secondary sex โรคทางอายุรกรรมที่เป็นสาเหตุให้มีบุตรยาก เป็นต้น
ประวัติ
ประวัติการมีประจำเดือน การผ่าตัด การแต่งงาน การคุมกำเนิด เป็นต้น
ความสามารถในการมีบุตร
อายุฝ่ายชายอายุ˃ 55 ปี ขึ้นไปจะมีความผิดปกติของอสุจิมากขึ้น
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ทำให้อสุจิที่สร้างขึ้นมาใหม่มีคุณภาพดีและแข็งแรงกว่าอสุจิที่สร้างมานาน
อายุฝ่ายหญิง 21-25 ปี ความสามารถมีบุตรได้สูง
การประเมินภาวะท่อนำไข่ มดลูก และอวัยวะในเยื่อหุ้มเชิงกราน
สาเหตุของภาวะมีบุตรยากส่วนใหญ่เกิดจากการอุดตันของท่อนำไข่มักเกิดภายหลังการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน ไส้ติ่งอักเสบ การทำแท้ง เป็นต้น
การวินิจฉัย
รังไข่
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน
Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ ได้แก่ PCT
Endoscopy การส่องกล้อง Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
เต้านม
Hysterosalpingogram(HSG) การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซ์เ์รย์
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การตรวจเลือดทั่วๆไป การตรวจฮอร์โมน เป็นต้น
การตรวจความผิดปกติของรังไข่
การตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในในกระแสเลือดที่กึ่งกลางของระยะลูเทียล (midluteal serum progesterone level)เจาะเลือดเพื่อตรวจในช่วงประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนที่ประจำเดือนมา
การตรวจวัด basal body temperature
การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูกหรือการทำ postcoital test
การตรวจการทำงานของอสุจิ