Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดยาวนาน (Prolong labor), นางสาว ทิวาภรณ์ นวลบริบูรณ์ เลขที่ 18 -…
การคลอดยาวนาน (Prolong labor)
ผลกระทบต่อผู้คลอดและทารก
ผู้คลอด
อ่อนเพลีย อาจได้รับอันตรายจากการช่วยคลอด PPH
มีภาวะขาดน้ำ
เสี่ยงต่อภาวะมดลูกแตก
ทารก
อาจได้รับอันตรายจากการช่วยคลอด
ขาดออกซิเจน
สาเหตุหรือปัจจัยส่งเสริม
ผู้คลอดได้รับยาระงับความรู้สึกหรือยาระงับความเจ็บปวดมากเกินไปในระยะปากมดลูกเปิดช้า
ปากมดลูกยังไม่พร้อม
มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
CPD
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ >>> ท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลังหรืออยู่ขวาง
การคลอดใช้เวลาตั้งแต่เจ็บครรภ์จริงจนถึงคลอดทารกนานกว่า 24 ชั่วโมง
การคลอดยาวนานในระยะเร่ง (active phase disorder)
2) ส่วนนาเคลื่อนต่ำล่าช้า (protracted descent)
ครรภ์แรก เคลื่อนต่าน้อยกว่า 1 cm/hr
ครรภ์หลัง เคลื่อนต่าน้อยกว่า 2 cm/hr
1) ปากมดลูกเปิดขยายล่าช้า (protracted dilatation)
ครรภ์แรก น้อยกว่า 1.2 cm/hr
ครรภ์หลัง น้อยกว่า 1.5 cm/hr
การคลอดยาวนานในระยะปากมดลูกเปิดช้า (prolong latent phase)
ครรภ์หลัง มากกว่า 14 ชั่วโมง
ครรภ์แรก มากกว่า 20 ชั่วโมง
การหยุดชะงักของการเปิดขยายของปากมดลูกหรือการเคลื่อนต่าของส่วนนำ (arrest disorder)
1) การคลอดยาวนานในระยะ deceleration (prolonged deceleration phase
ครรภ์แรก มากกว่า 3 ชั่วโมง
ครรภ์หลัง มากกว่า 1 ชั่วโมง
2) การเปิดขยายของปากมดลูกหยุดชะงัก (secondary arrest of dilatation)
ปากมดลูกไม่มีการเปิดขยายเพิ่มขึ้นภายในเวลา 2 ชั่วโมง
4) ไม่มีการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ (failure of descent)
ส่วนนำของทารกไม่มีการเคลื่อนต่าลงมา >>> แม้ว่าจะอยู่ในระยะ deceleration phase หรือ ระยะที่สองของการคลอด
3) การเคลื่อนต่ำของส่วนนำหยุดชะงัก (arrest of descent)
ส่วนนำของทารกไม่มีการเคลื่อนต่าเพิ่มขึ้นภายในเวลา 1 ชั่วโมง
แนวทางการรักษา
ขึ้นอยู่กับสาเหตุหรือปัจจัยส่งเสริม
หากมีภาวะ CPD
2) รายที่สามารถคลอดได้เองทางช่องคลอด
ประเมินและเตรียมปากมดลูกให้พร้อม
ดูแลมดลูกให้หดรัดตัวดี
ให้ยาระงับความเจ็บปวดเพื่อให้ผู้คลอดได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
1) ควรผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
การพยาบาลผู้คลอดที่มีการคลอดยาวนาน
ประเมินหาสาเหตุ + ให้การพยาบาลเพื่อแก้ไขตามสาเหตุ
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
ส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าของการคลอดอย่างเหมาะสม
ประเมินสภาวะของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะมดลูกแตก
ดูแลให้ได้รับอาหารหรือสารน้ำทางหลอดเลือดดาอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา >>> กระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ระงับปวด
นางสาว ทิวาภรณ์ นวลบริบูรณ์ เลขที่ 18