Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก(Infertility) - Coggle Diagram
ภาวะมีบุตรยาก(Infertility)
คู่สมรสไม่สามารถตัวครรภ์ได้
โดยมีความสัมพันธ์ทางเพศกันอย่างสม่ำเสมอและไม่ได้คุมกำเนิดมาเป็นระยะเวลา 1 ปี
หรือ ระยะเวลา 6 เดือนในกรณีที่คู่สมรสฝ่ายหญิงที่มีอายุเกิน 35 ปีขึ้นไป
Primary infertility
ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากที่ได้พยายามแล้วเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
Secondary infertility
ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อนและสิ้นสุดด้วยการแท้ง หรือการคลอดก็ตาม หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลย เป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
สาเหตุ
ฝ่ายหญิง(Female infertility)
ร้อยละ 40 การทำงานของรังไข่ผิดปกติ
ร้อยละ 30 ท่อนำไข่
ร้อยละ 20 Endometrisis
ร้อยละ 5 Immunological
ร้อยละ 5 Other
ฝ่ายชาย(Male infertility)
ร้อยละ 80 Sperm dysfunction เช่น เชื้ออสุจิน้อย มีรูปร่างผิดปกติ หรือการเคลื่อนไหวน้อย
ร้อยละ 10 Sexual factors เช่น Electile dysfunction, Premature dysfunction ฯ
ร้อยละ 10 Other
นอกจากนั้น พบว่า ภาวะทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล ก็เป็นสาเหตุให้เกิดภาวะมีบุตรยากได้
ความสามารถในการมีบุตร
ฝ่ายหญิงอายุ 21-25 ปี ความสามารถในการมีบุตรได้สูง
ฝ่ายชายอายุมากว่า 55 ปี ขึ้นไป จะมีความผิดปกติของอสุจิมากขึ้น
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ที่เมาะสมคือ 2-3 ครั้งต่สัปดาห์(อสุจิที่สร้างใหม่แข็งแรงกว่าอสุจิที่สร้างมานาน และมีชีวิตอยู่ในท่อนำไข่ได้ประมาณ 2 วัน)
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
การซักประวัติ
ประวัติการมีประจำเดือน การผ่าตัด การแต่งงานและการมีบุตร การมีเพศสัมพันธ์ การคุมกำเนิด การได้รับยา รังสี สารเคมี เป็นต้น
การตรวจร่างกาย
การตรวจทั่วไป
เช่น secondary sex โรคทางอายุรกรรมที่เป็นสาเตุให้มีบุตรยาก เป็นต้น
การตรวจต่อมไร้ท่อ(Hypothalamus, Pituitary, Thyroid)
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
เยื่อพรหมจารีและ่องคลอด ได้แก่ PV, Wet smear, Culture
คอมดลูก ได้แก่ PV ดูลักษณะทางกายวิภาค ตรวจมูกคอมดลูก
ตัวมดลูก ได้แก่ PV, Hysterosalpingogram, Endometrium biopsy, Hysteroscopy, U/S
ท่อนำไข่ ได้แก่ CO2 insufflation หรือ Rubin test, Hysterosalpingogram, Laparoscope
การประเมินท่อนำไข่ มดลูก และอวัยวะในอุ้งเิลกราน
สาเหตุของภาวะมีบุตรยาก ร้อยละ 30-50 ส่วนใหญ่ของภาวะอุดตันของท่อนำไข่มักเกิดหลังการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไส้ติ่งอักเสบ การทำแท้ง ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
การวินิจฉัย
Hysterosalpingogram(HSG) การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซ์เรย์
Endoscopy การส่องกล้อง
Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
็Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
รังไข่ ได้แก่ BBT, Cx mucous, Endometrium biopsy, Serum progesterone
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน ได้แก่ Laparoscope
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ ได้แก่ PCT (postcoital test)
เต้านม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ได้แก่ การตรวจเลือดทั่วๆไป การตรวจฮอร์โมน ฯ
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
การตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในกระแสเลือดที่กึ่งกลางของระยะลูเทียล เจาะเลือดเพื่อตรวจในช่วงประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนที่ประจำเดือนมา
มากกว่า 5 มิว/dl = มีการตกไข่
มากกว่า 10 มิว/dl = มีการตกไข่ คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติด้วย
การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูกหรือการทำ postcoital test
การตรวจวัด basal body temperature หรือ BBT chart
การตรวจการทำงานของอสุจิหรือ sperm function tests นั้น
ไม่มีหลักฐานว่ามีประโยชน์ต่อการดูแลรักษา จึงไม่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน
การทำ post coital test
เพื่อดูมูกที่ปากมดลูกและดูความสามารถของอสุจิที่จะผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูก
เวลาที่เหมาะสมในการตรวจ คือ 1-2 วัน ก่อนการตกไข่
ให้คู่สมรสมีเพศสัมพันธ์กันหลังจากที่งดมาเป็นเวลา2-3วันแล้วให้มารับการตรวจประมาณ9-24ชั่วโมง
ตรวจโดยใช้ syringe เล็กๆ ดูดเอามูกบริเวณ posrterior fornix มาป้ายบนแผ่นสไลด์ เพื่อดูว่ายังคงมีตัวอสุจิหรือไม่
และดูดจากช่องคอมดลูกและยืดดู หากเป็น่วงตกไข่จะใสและยืดได้ยาว หากยาวมากกว่า 10 ซม. และหากปล่อยให้แห้งจะตกผลึกเป็นรูปใบเฟิร์นแปลว่ามีการตกไข่
นำไปส่องกล้องจุลทรรศน์ เพื่อดูว่ามีอสุจิที่มีการเคลื่อนไหวดีหรือไม่
หากเคลื่อนไหวไปข้างหน้าเกิน 5 ตัว/HPF แสดงว่าอสุจิผ่านมูกขึ้นไปได้
หากพบว่าไม่มีการเคลื่อนไหวเลยอาจแสดงถึงการอักเสบของปากมดลูก
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
การซักประวัติ
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต เช่น โรคติดเชื่อทางเพศสัมพันธ์ ประวัติการสูบบุหรี การดื่มแอลกอฮอล์
ลักษณะนิสัยส่วนตัว การได้รับยา รังสี สารเคมี การมีเพศสัมพันธ์ ความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์ การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด เป็นต้น
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไปและการตรวจระบบสืบพันธ์
เช่น หนังหุ้มปลายองคชาต ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะ ลักษณะรูปร่างอัณฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ Hydrocele
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ
ปริมาตร(volume) มากกว่าเท่ากับ 2 มิลลิลิตร
ความหนาแน่นของตัวอสุจิ มากกว่าเท่ากับ 20 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
จำนวนของตัวอสุจิทั้งหมด มากกว่าเท่ากับ 40 ล้านตัว
การเคลื่อนที่ของตัสอสุจิ มากกว่าเท่ากับ ร้อยละ 50 มีการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
รูปร่าง ลักษณะ มากกว่าเท่ากับ ร้อยละ 14 มีรูปร่างปกติ
จำนวนเม็ดเลือดขาว น้อยกว่า 1 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
ความเป็นกรด-ด่าง มากกว่าเท่ากับ 7.2
การมีชีวิต(vitality) มากกว่า ร้อยละ 75
การตรวจอสุจิ
งดการมีเพศสัมพันธก่อนวันตรวจ 2-7 วัน
นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1 ชั่วโมงภายหลังที่เก็บได้
ใส่ภาชนะที่เตรียมไว้เท่านั้น
ไม่แนะนำให้มีการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแล้วหลั่งข้างนอกหรือใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากมีสารที่ทำลายอสุจิได้
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ(Unexplained infertility)
คือ คู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุของการมีบุตรยากแล้วจนครบบตามมาตรฐานแล้ว
เช่น การประเมินการตกไข่ การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ การอุดตันของท่อนำไข่ แต่ไม่พบ โดยจะพบได้ร้อยละ 10-15 ของคู่สมรสทั้งหมด
การรักษาภาวะมีบุตรยาก
การรักษาแบบต้น(Conventional)
เป็นการรักษาที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย
การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธ์ (Timing intercoures)
การกระตุ้นไข่(Ovulation induction)
การผสมเทียม
คือ การใช้เครื่องมือฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปภายในอวัยวะสืบพันธ์ของสตรี ในช่วงที่ไข่ตก เชื้ออสุจิอาจเป็นของสามี หรือผู้บริจาค
วิธีนี้เหมาะกับผู้ชายที่เชื้ออ่อนแอ
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง(Intra-uterine insemination : IUI)
การนำน้ำอสุจิที่ได้รับการคัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะตกไข่
แพทย์ใช้ยากระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่าหนึ่งใบเพื่อเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ให้มากขึ้น
วิธีนี้ไม่เหมาะกับ
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีพังผืดขวางทางเข้าท่อนำไข่
ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ หรือปัญหาอื่นๆ
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ เช่น มีจำนวนน้อย เคลื่อนไหวผิดปกติ หรือปัญหาอื่นๆ
วิทยาการการช่วยเหลือการมีบุตร(Assisted Reproduction Techologies : ART)
การกระตุ้นการตกไข่
ให้ GnRH เป็นระยะ ตามการหลั่ง
กระตุ้นการผลิต FSH และ LH หรือการให้ยา ซึ่งเป็นฮอร์โมยสังเคราะห์ไปกันการทำงานของอีสโทรเจน
มีผลให้ไข่ตกมากกว่า 1 ใบ หลังจากนั้นเลือกไข่ใบที่แข็งแรงและนำมาใช้ตามการปฏิสนธิภายนอก ด้วยวิธีต่างๆเช่น
GIFT (Gamate Intrafallopain Tranfer)
การนำไข่และเชื้ออสุจิใส่ท่อนำไข่หลังการกระตุ้นไข่เพื่อให้ไข่สุกหลายใบ
และเจาะออกมาเลือกไข่ที่สมบูรณ์ แล้วนำเครื่องมือนำอสุจิและเซลล์ไข่ ใส่เข้าไปในท่อนำไข่
เพื่อให้มีการผสมและตั้งครรภ์แบบธรรมชาติ กรณีนี้ไม่มีปัญหาที่ปีกมดลูก
ZIFT(Zygote Intrafallopian Transfer)
คล้ายกับการทำเด็กหลอดแก้ว
แต่ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วจะถูกนำมาผสมกันและเพาะเลี้ยงในห้องแลป 1 วัน
ถ้าเห็นว่าเกิดการปฎิสนธิแล้วจะใส่ตัวอ่อนกลับสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้องใส่ไปในท่อนำไข่
IVF(In Vitro Fertilization)
การเก็บไข่
แทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่โดยตรง เห็นได้จากอัลตราซาวด์ หรือผ่านทางหน่าท้องไปที่รังไข่
การเก็บสเปิร์ม
หลั่งภายนอกเลือกสเปิร์มที่แข็งแรงเท่านั้น ถ้าต้องการเก็บไว้ใช้ภายหลังได้โดยเก็บไว้ในไนโตรเจนแล้ว โดยไม่เสื่อมสภาพ
ข้อบ่งชี้
ท่อนำไข่ตีบตัน
มีเยื่อพังผืดในอุ้งเชิงกราน ขัดขวางการเดินทางของไข่
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
ความผิดปกติของปาดมดลูก
ความผิดปกติของการตกไข่
สาเหตุจากฝ่ายชาย
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
การปฎิสนธินอกร่างกายและการย้ายตัวอ่อน หรือ ทั่วๆไปเรียกกันว่า เด็กหลอดแก้ว การทำคล้ายกับ GIFT
แต่ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้ว จะถูกนำมาผสมกันเพื่อให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกาย เพาะเลี้ยงในห้องแลป
ใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 2-5 วัน จากนั้นนำตัวอ่อนที่ได้ใส่เข้าไปในโพรงมดลูกเพื่อให้เจริญเติบโตต่อไป
Micromanipulation
โดยใช้เข็มเล็กๆเจาะเปลือกไข่ แล้วให้เชื่ออสุจิวิ่งผ่านรูที่เจาะ หรือการฉีดเชื้ออสุจิเข้าใต้เปลือกไข่
หรือฉีดเข้า Ooplasm โดยตรง ต้องอาศัยเครื่องมือพิเศษและประสบการณ์ความชำนาญของผู้ทำ
วิธีที่นิยม คือ
ICSI(Intracytoplasmic Sperm Injection)
เป็นการนำเชื้ออสุจิเพียงหนึ่งตัวเจาะเข้า Ooplasm โดยตรง ทำภายใต้กล้องขยายกำลังสูง
หลังจากไข่ถูกฉีดอสุจิเข้าไปจะเกิดการปฎิสนธิเป็นตัวอ่อนขึ้น
วิธีนี้ตัวต้องไม่ต้องว่ายไปหาไข่ ไม่ต้องเจาะผนังไข่เอง ทำให้อสุจิที่ไม่แข็งแรงปฎิสนธิกับไข่ได้
เหมาะกับผู้ที่มีสเปิร์มหรืออสุจิน้อยมากๆ หรืออสุจิมีโครงสร้างผิดปกติมาก
ข้อบ่งชี้ของการทำ
Oligozoopermia(ตัวอสุจิน้อยมาก)
Asthenozoospermia(ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี)
Teratozoospermia(ตัวอสุจิรูปร่างผิดปกติ)
คู่สมรสที่ผ่านการทำปฏิสนธินอกร่างกายแล้ว ตัวอสุจิกับไข่ไม่สามารถปฏืสนธิกันได้
Retrograde ejeculation
Immunological factor
ในกรณีที่ผู้ชายไม่มีตัวอสุจิในน้ำอสุจิเลย ถือว่าเป็นหมัน
ปัจจุบันสามารภนำเอาอสุจิออกจากอัณฑะหรือจากท่อนำน้ำอสุจิส่วนต้นแล้วนำมาทำ ICSI
ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ได้แม้ในรายที่มีปริมาณอสุจิน้อยกว่า 100 ตัว(การหลั่ง1ครั้งมีอสุจิประมาณ 100 ตัว)