Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบและ เครื่องมือในการบำบัด ทางการพยาบาลจิตเวช, นางสาวนิโลบล ถุนนอก…
รูปแบบและ เครื่องมือในการบำบัด
ทางการพยาบาลจิตเวช
นิเวศน์บำบัด (Milieu Therapy)
ความหมาย
การรักษาผู้ป่วยโดยใช้สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ซึ่งประกอบด้วยบุคลากรทางจิตเวช หอผู้ป่วย และผู้ป่วยด้วยกัน
แนวคิดและหลักการ
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการตัดสินใจวางแผนการดูแลและรักษาอาการเจ็บป่วยตลอดจนการออกแบบสิ่งแวดล้อม ภายในหอผู้ป่วยด้วยตนเอง
ให้ครอบครัวได้รับการต้อนรับและมีความปลอดภัยเมื่ออยู่ภายในหอผู้ป่วย
องค์ประกอบของนิเวศน์บำบัด
บรรทัดฐานทางสังคม (norms) คือ สิ่งที่ผู้ป่วยต้องยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติขณะรับการรักษาในโรงพยาบาล
ความสมดุล (balance) คือ ความสมดุลระหว่างความเป็นอิสระและไม่เป็นอิสระของผู้ป่วย
โครงสร้าง (Structure) ลักษณะทางกายภาพของสิ่งแวดล้อม สิ่งอำนวย ความสะดวกภายในหอผู้ป่วย การจัดกิจกรรมกลุ่มบำบัด ตามเวลาที่สอดคล้องกับตารางการจัดกิจกรรม และยัง หมายความรวมไปถึงกฎระเบียบการอยู่ร่วมกันภายในหอผู้ป่วย
การจำกัดสิทธิและพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช (Limit setting) เป็นหนึ่งในวิธีการจัดนิเวศน์สำหรับผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการอยู่ในระยะเฉียบพลัน ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมตนเอง
ความปลอดภัย (Safety)
การจำกัดสิทธิและพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช
ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วย
มีพฤติกรรมการทำร้ายร่างกายตนเองและผู้อื่น
มีภาวะเพ้อ มีนงง และสับสน
มีพฤติกรรมรุนแรง เช่น อาละวาด ก้าวร้าว หรือคลุ้มคลั่ง
มีความคิดหนีออกจากโรงพยาบาล
แนวทางในการพิจารณาการจำกัดสิทธิและพฤติกรรม
ประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อตัวผู้ป่วยและบุคคลอื่นๆ ภายในหอผู้ป่วย
การเลือกวิธีการในการจำกัดสิทธิและพฤติกรรมต้องดำเนินการอย่างมีขั้นตอนที่ชัดเจน เป็นไปตามข้อตกลงร่วมกันระหว่างทีมรักษา
ประเมินลักษณะของพฤติกรรมผู้ป่วยว่ามีความต้องการในการจำกัดสิทธิและพฤติกรรมมากน้อยเพียงใด
วิธีการจำกัดสิทธิและพฤติกรรมผู้ป่วย
การจำกัดด้วยวาจา
เรียกชื่อผู้ป่วยด้วยน้ำเสียงที่ดัง ชัดเจน
การจำกัดขอบเขต
การผูกยึดผู้ป่วย (physical restraints)
แนวทางในการผูกยึด
ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงที่ทำให้เกิดอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น
แก้ไขเบื้องต้นก่อนการตัดสินใจผูกยึด
ประเมินหลังจากได้ให้การแก้ไขเบื้องต้น
พิจารณาเลือกวิธีการที่เหมาะสมในการผูกยึด
ปฏิบัติการผูกยึดอย่างรวดเร็วถูกต้องตรงตามหลักการ
ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดผลข้างเคียงจากการผูกยึด
การนำเข้าห้องแยก (seclusion)
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผูกยึดหรือนำเข้าห้องแยก
การพยาบาลขณะผูกยึดหรือนำเข้าห้องแยก
อธิบายเหตุผลในการผูกยึด
หรือนำเข้าห้องแยก ตรวจสัญญาณชีพ และควรหมั่นตรวจเยี่ยมผู้ป่วยขณะผูกยึด ทุก 15 นาที ผู้ป่วยอยู่ในห้องแยกต้องประเมินอาการผู้ป่วยทุก 1-2 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 4 ชั่วโมง
การพยาบาลก่อนการผูกยึดหรือนำเข้าห้องแยก
สื่อสารข้อมูลกับทีมรักษาและให้ข้อมูลแก่ญาติและครอบครัวของผู้ป่วยถึงเหตุผลของการผูกยึดผู้ป่วยหรือนำผู้ป่วยเข้าห้องแยก
การพยาบาลภายหลังการผูกยึดหรือนำเข้าห้องแยก
ให้ผู้ป่วยได้เล่า
ระบายความรู้สึก อธิบายโดยเน้นให้ผู้ป่วยเข้าใจเหตุผลของการจำกัดพฤติกรรม
การใช้ยา (medication)
กลุ่มกิจกรรมบําบัด (group activity therapy)
ข้อดี
เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันกับสมาชิกกลุ่มคนอื่นๆ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ประหยัดเวลา
ข้อด้อย
ผู้ป่วยบางรายอยู่รักษาไม่นาน อาจทำให้พูดเท็จ เพื่อทำให้ตนเองมีคุณค่าหรือพยายามแสดงตัวเป็นแบบอย่างให้ผู้ป่วยอื่น
เรื่องส่วนตัวบางเรื่องที่ผู้ป่วยคุยกันภายในกลุ่มอาจจะถูกนำไปคุยภายหลังกลุ่มกิจกรรมเสร็จสิ้น ดังนั้นควรตั้งกติกาหรือข้อตกลงก่อนทำกลุ่ม
ขั้นตอนการจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
ขั้นเตรียมการ
ชื่อและวัตถุประสงค์ของกิจกรรม
เตรียมอุปกรณ์
การกำหนดลักษณะอาการทางจิตของทางจิตของผู้ป่วยที่จะเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
ขั้นดำเนินการ
2.1 ขั้นเริ่มต้นกลุ่ม (Orientation phase)
2.2 ขั้นดำเนินการกลุ่ม (Working phase)
2.3 ขั้นสิ้นสุดกลุ่ม (Termination phase)
ขั้นประเมินผล
3.2 กระบวนการกลุ่ม
3.3 เนื้อหา
3.1 บรรยากาศกลุ่ม
3.4 บทบาทผู้นำกลุ่มและผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม
องค์ประกอบของการจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
สถานที่ (setting)
ผู้นำกลุ่มกิจกรรมบำบัด (leader)
กิจกรรม (activity)
ผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม (co-leader)
สมาชิกกลุ่ม (members)
ลักษณะของผู้ป่วยในกลุ่มกิจกรรมบำบัด
Distracting patient
ผู้ป่วยที่ทำให้สมาชิกในกลุ่มสับสน เสียสมาธิ
Uninvolved patient
ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองไม่มีส่วนร่วม
โดยผู้ป่วยมักแสดงออกด้วย
การเงียบ และไม่มีปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกอื่น
Dominant patient
มีลักษณะแสดงตัวเป็นจุดเด่นของกลุ่ม
Hostile patient
ผู้ป่วยก้าวร้าว
บทบาทพยาบาลในนิเวศน์บำบัด
วางแผนจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัดต่างๆ เพื่อส่งเสริม ฟื้นฟูสมรรถภาพหรืออาการของผู้ป่วยจิตเวช
ให้ความรู้เรื่องต่างๆ แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ป่วย
จำกัดสิทธิหรือพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม และก่อให้เกิดอันตรายต่อตัวผู้ป่วยเองและบุคคลอื่น
เป็นผู้วางแผน ออกแบบสิ่งแวดล้อมภายในหอผู้ป่วยให้มีความเหมาะสม ปลอดภัย
พฤติกรรมบําบัด (Behavior Therapy)
ความหมาย
มุ่งเน้นการควบคุม พฤติกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่สังเกตได้ โดยใช้หลักการเรียนรู้และผลการทดลองทางจิตวิทยามาใช้กับ พฤติกรรมที่เป็นปัญหาการแก้ไขพฤติกรรมเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่สังเกตได้ โดยไม่คำนึงถึงสาเหตุของพฤติกรรมในอดีต
หลักการ
“การเรียนรู้เกิดจากเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการ ตอบสนอง”
ลักษณะของทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้ด้วยการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม (Classical conditioning) เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการ
มีการวางเงื่อนไขสิ่งเร้าภายนอกมากระตุ้น
การเรียนรู้โดยการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant conditioning) คือ ถ้ามีการได้รับการเสริมแรงจะทำให้เกิด พฤติกรรมนั้น ๆ อีก
การเรียนรู้ทางสังคม (Social learning) เป็นการเรียนรู้จากการสังเกตหรือจากการเลียนแบบจาก ตัวแบบ (Modeling)
ขั้นตอนในการทำพฤติกรรมบําบัด
เก็บข้อมูลและทำ Functional analysis
ตั้งวัตถุประสงค์ร่วมกับผู้ป่วยว่าจะเปลี่ยนพฤติกรรมใด
การบําบัดทางความคิดและพฤติกรรม
(Cognitive behavioral therapy : CBT)
เดิมออกแบบเพื่อรักษาโรคซึมเศร้า แต่ปัจจุบันใช้รักษาอาการทางจิตอื่น ๆ ด้วย ซึ่งมีประสิทธิผลโดยแก้ปัญหาปัจจุบันและเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมที่ไร้ประโยชน์
กระบวนการรักษา CBT
1.การประเมิน (psychological assessment)
2.การเปลี่ยนความคิดที่ใช้อธิบายเหตุการณ์ (Reconceptualization)
3.การฝึกทักษะ (Skills acquisition)
4.การสร้างเสถียรภาพของทักษะ (Skills consolidation) และการฝึกประยุกต์ใช้ทักษะ (application training)
5.การประยุกต์ใช้โดยทั่วไป (generalization) และการธำรงรักษา (maintenance)
6.การประเมินหลังการบำบัดและการติดตาม
จิตบําบัด (Psychotherapy)
ความหมาย
การรักษาความผิดปกติทางด้านจิตใจหรืออารมณ์ด้วยวิธีการพูดคุยกับผู้ป่วย หรือ บางวิธีอาจไม่ใช้วาจา (Nonverbal communication) โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยรู้จักตนเอง เข้าใจตนเอง เข้าใจ ผู้อื่น ยอมรับตนเองและผู้อื่น ตลอดจนสามารถปรับเปลี่ยนความคิด เจตคติและพฤติกรรมอันนําไปสู่การแก้ปัญหาอย่างถูกต้องเหมาะสม
รูปแบบจิตบำบัด
จิตบําบัดแบบหยั่งเห็น (Insight Psychotherapy)
จิตบําบัดแบบประคับประคอง (Supportive Psychotherapy)
วิธีการของจิตบําบัด
ให้การสนับสนุน (Encouragement)
ให้แนวทาง การแนะแนว (Guidance)
ให้ความเชื่อมั่น ให้กําลังใจ (Reassurance)
การหันความสนใจไปสู่ภายนอก (Externalization of Interest)
การจัดการกับสิ่งแวดล้อม (Environment manipulation)
การแนะนํา (Suggest)
การชักชวน จูงใจ (Persuasion)
การระบายอารมณ์ (Ventilation)
การลดความอ่อนไหวหรือลดพฤติกรรมอ่อนไหวลง (Desensitization)
ลักษณะของจิตบําบัด
จิตบําบัดกลุ่ม (Group Psychotherapy)
ชนิด
Therapeutic Social Club (กลุ่มพบปะสังสรรค์)
Repressive interaction group
(กลุ่มปลุกเร้าความเก็บกด)
Didactic group (กลุ่มการสอน)
Free-interaction group (กลุ่มแสดงออกอย่างเสรี)
Psychodrama (กลุ่มละครจิตบำบัด)
วิธีการ (Methods)
Directive Methods (วิธีการแบบนำทาง)
Nondirective Methods (วิธีการแบบไม่นำทาง)
ระยะเริ่มต้นกลุ่ม
ระยะกลาง ดำเนินการ
ระยะสุดท้าย
ระยะเวลาที่ใช้ครั้งละ75 - 90 นาที อาทิตย์ละ 1-3 ครั้ง
จิตบําบัดรายบุคคล (Individual Psychotherapy)
นางสาวนิโลบล ถุนนอก รหัส 612701055