Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สนทนาเพื่อการบำบัด - Coggle Diagram
สนทนาเพื่อการบำบัด
ขั้นตอนของกระบวนการให้การปรึกษา
:check:
ขั้นตอนที่ 1
การสร้างสัมพันธภาพและตกลงบริการ
:check:
ขั้นตอนที่ 2
การสำรวจปัญหา
:check:
ขั้นตอนที่ 3
การเข้าใจปัญหา สาเหตุ และความต้องการของผู้รับการปรึกษา
:check:
ขั้นตอนที่ 4
การวางแผนแก้ไขปัญหา
:check:
ขั้นตอนที่ 5
การยุติการให้การปรึกษา
องค์ประกอบของการสนทนาเพื่อการบําบัด
สถานที่สนทนากับผู้ใช้ บริการ (Setting)
สถานที่ที่เงียบสงบ มีสัดส่วนเป็ นส่วนตัว
(Privacy)จะช่วยทําให้ผู้ใช้บริการมีความสะดวกใจในการเปิดเผยตนเอง
การจัดท่านั่ง (Seating Arrangement)
พยาบาลและผู้ใช้บริการนั่งเยื้องกันเล็กน้อยในลักษณะเป็นมุม เท่ากับหรือมากกว่า 90 องศา
นั่งหันหน้ าเข้ าหากัน โดยไม่เผชิญหน้ ากันโดยตรง
เวลาในการสนทนา
: 30-60 นาทีในการใช้เวลา
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบําบัด
เทคนิคที่ช่วยให้ผู้
ใช้บริการร้สึกว่าตนเองมีคุณค่า
Giving Recognition
การรู้จักจําได้เป็นการแสดงให้เห็นว่าพยาบาลรู้จักเขา
Giving Information
การให้ข้อมูลข่าวสารเป็นข้อเท็จจริงเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการ
Offering Self
เป็นการเสนอตนเองเพื่อให้ความช่วยเหลือ
เทคนิคในการกระตุ้นให้ผู้ใช้บริการเป็นฝ่ายนําในการสนทนา
Using Broad Opening Statement
เป็นการใช้คําพูดในประโยคปลายเปิด
Giving General lead
เป็นการกล่าวนํา
Reflecting
การสะท้อนคําพูดของผู้ใช้บริการ
Accepting
เป็นการยอมรับสิ่งที่ผู้ใช้บริการคิด
เทคนิคการกระตุ้นให้ผู้ใช้บริการพูดระบายความคิด ความรู้สึก
Sharing Observation
เป็นการบอกกล่าวสิ่งที่พยาบาลสังเกตเห็น
Acknowldge the Patient’s Feeling
เป็นการแสดงการรับรู้ ความรู้สึกของผู้ใช้บริการและยอมรับ
Using Silence
การใช้ความเงียบ
เทคนิคในการส่งเสริมให้เข้าใจตรงกัน
Clarifying
การขอความกระจ่าง ในคําพูดไม่ชัดเจน
Verbalizing implied thought and feeling
คําพูดที่ผู้ใช้บริการพูดเป็นนัยๆ อาจมีความคิด ความรู้ สึกซ่อนเร้ นอยู่ลึก ๆ
Validating
การตรวจสอบความรู้ สึกเพื่อยืนยันความเข้าใจ
เทคนิคการกระตุ้นให้ผู้พูด คิดและไตร่ตรองเรื่องราวของเขาใหม
Focusing
การมุ่งความสนใจให้อยู่ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
Exploring
การสํารวจข้อมูลเพิ่มเติม
Voicing doubt
การตั้งข้อสงสัย
Summarizing
การสรุป
:<3:เป้าหมายของการให้การปรึกษา
:<3:
เป้าหมายด้านการพัฒนา (developmental goals)
เป็นไปเพื่อช่วยให้ผู้รับการปรึกษาเกิด กระบวนการเรียนรู้ใหม่ สามารถมองเห็นตนเอง
:<3:
เป้าหมายด้านการป้องกัน (preventive goals)
เพื่อช่วยให้ผู้รับการปรึกษาสามารถ ค้นหา และจัดการความเสี่ยง (risk) ต่อการเกิดสุขภาพจิตของ ตนเองได้
:<3:
เป้าหมายด้านการส่งเสริม (enhancement goals)
เป็นไปเพื่อส่งเสริมให้ผู้รับการปรึกษา สามารถพัฒนาทัศนคติ ความรู้ ทักษะ
:<3:
เป้าหมายด้านการบรรเทา (remedial goals
) เป็นไปเพื่อช่วยให้ผู้รับการปรึกษาสามารถผ่อน คลายบรรเทาความคิด ความรู้สึกคับข้องใจ
:<3:
เป้าหมายด้านการสำรวจ (exploratory goals)
เป็นไปเพื่อให้ผู้รับการปรึกษาสามารถสำรวจ ความคิด การรับรู้ สามารถตรวจสอบทางเลือก การตัดสินใจเลือก
:<3:
เป้าหมายด้านการเสริมแรง (reinforcement goals)
เป็นไปเพื่อช่วยให้ผู้รับการปรึกษาเกิด ความรู้สึกมั่นใจและภาคภูมิใจต่อการปฏิบัติพฤติกรรมใหม
:<3:
เป้าหมายด้านการรู้คิด (cognitive goals)
เป็นไปเพื่อช่วยให้ผู้รับการปรึกษาเกิดความสามารถ ด้านการคิดวิเคราะห์
:<3:
เป้าหมายด้านจิตใจ (psychological goals)
เป็นไปเพื่อช่วยให้ผู้รับการปรึกษาสามารถรู้จัก เข้าใจอารมณ์ ความรู้สึก