Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะการมีบุตรยาก (infertility), นางสาวปภัสรา เทพรัต เลขที่50 ห้องA…
ภาวะการมีบุตรยาก (infertility)
ความหมาย
การที่คู่สามีภรรยาไม่สามารถมีบุตรได้ภายหลังจากมีเพศสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอโดยไม่ได้คุมกำเนิดเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี
สำหรับสตรีที่อายุมากกว่า 30-35 ปี ถ้ามีเพศสัมพันธ์สม่ำเสมอไม่ได้คุมกำเนิดภายในเวลา 6 เดือน แต่ไม่ตั้งครรภ์ ถือว่าอยู่ในภาวะมีบุตรยาก
ชนิดของการมีบุตรยาก
ปฐมภูมิ
การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากที่พยายามแล้วเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
ทุติยภูมิ
การที่ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาแล้ว อาจจะสิ้นสุดลงด้วยการแท้งหรือการคลอด หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลย เป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
สาเหตุและปัจจัย
ชาย(Male infertility)
การสร้างเชื้ออสุจิผิดปกติ
อสุจิน้อย
เคลื่อนไหวน้อย
รูปร่างผิดปกติ
อื่นๆ
ความร้อน
โรคประจำตัว
สารเคมี
ความเครียด
การขนส่งเชื้ออสุจิผิดปกติ
การอุดตันของท่อนำเชื้ออสุจิ
การมีเพศสัมพันธ์และการหลั่งน้ำเชื้อที่ผิดปกติ
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์และช่วงเวลาที่ไม่ตรงกับระยะตกไข่
ไม่สามารถหลั่งน้ำอสุจิในช่องคลอดของฝ่ายหญิงได้ แต่สามารถหลั่งน้ำอสุจิได้จากการสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง
หญิง(Female infertility)
ความผิดปกติของการสร้างไข่หรือการตกไข่
อื่นๆ
มีเพศสัมพันธ์ห่างเกินไป
โรคประจำตัว
ความเครียด
ความผิดปกติของอุ้งเชิงกรานและท่อนำไข่
Endometriosis หรือเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ คือภาวะที่เยื่อบุผนังมดลูกเจริญภายนอกมดลูก ทำให้เกิดเยื่อบุหนาที่สลายตัวกลายเป็นเลือดประจำเดือนไปเรื่อย ๆ จนร่างกายขับออกมาได้ไม่หมด ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการปวดท้องน้อยอย่างรุนแรง โดยเฉพาะในช่วงที่มีรอบเดือน รวมทั้งอาจส่งผลให้เกิดภาวะมีบุตรยากตามมา
ความผิดปกติที่ปากมดลูกและมดลูก
สาเหตขุองภาวะมีบตุรยากร้อยละ 30-50 ซึ่งส่วนใหญ่ของ ภาวะอุดตันของท่อน าไข่มักเกิดภายหลังการอักเสบติดเชื้อ ในอุ้งเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไส้ติ่ง อกัเสบ การทา แท้งภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยาก
ชาย
การซักประวัติ
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต
โรคคางทูม
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคเบาหวาน
โรคของระบบต่อมไร้ท่อ
สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์
การมีเพศสัมพันธ์และความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์
การได้รับอุบัติเหตุ การผ่าตัดและการได้รับความกระทบกระเทือนของอวัยวะสืบพันธ์
กาตรวจร่างกาย
ลักษะรูเปิดท่อปัสสาวะ
รูปร่างอัณฑะ
หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
ผลทางห้องปฏิบัติการ
CBC
Hormone
ตรวจน้ำอสุจิ
ค่าปกติ
pH 6-8 (ด่าง)
น้ำอสุจิ 20 ล้านตัว/cc
น้ำเชื้อ > 2 cc
การเคลื่อนไหว 50%
การมีชีวิต 50%
หญิง
ซักประวัติ
การแต่งงานและการมีบุตร
การผ่าตัด
การมีปะจำเดิอน
การมีเพศสัมพันธ์
การคุมกำเนิด
การตรวจร่างกาย
ทั่วไป
โรคทางอายุรกรรม
การตรวจต่อมไร้ท่อ (Hypothalamus, Pituitary, Thyroid)
ตรวจเฉพาะ
ช่องคลอด
มดลูก
รังไข่
เชิงกราน
เต้านม
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
Hormone
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ
PCT (postcoital test)
การรกัษาการมีบตุรยาก
ภายใน
การผสมเทียม
วิธีการ
ซักประวัติ
ฉีดน้ำอสุจิ
ฉีดเข้าโพรงมดลูก (intrauterine : IUI)
ฉีดเข้าช่องคลอด (intravaginal : IVI)
ฉีดเข้าในคอมดลูกและช่องคลอด (intracervico – vaginal : ICI)
หาวันที่มีไข่ตกเพื่อทำการฉีดน้ำอสุจิ
แบ่งเป็น
AIH
ใช้น้ำอสุจิสามี
AID
ใช้น้ำอสุจิของชายอื่น
การฉีดน้ำอสุจิเข้าไปในช่องคลอดของฝ่ายหญิงโดยไม่ได้มีเพศสัมพันธ์
ผู้ชาย ปกติ
ผญ วันตกไข่ปกติ
IUI
ข้อบ่งชี้
ฝ่ายหญิง
มีภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
หาสาเหตุการมีบุตรยากไม่พบ
มีปัญหาการตกไข่
ฝ่ายชาย
มีน้ำเชื้ออสุจิไม่ดี
น้ำอสุจิน้อย
วิธีการทำ
ฝ่ายชาย
ต้องมีน้ำเชื้อที่แข็งแรงหลังผ่านการคัดกรองแล้ว 5 ล้านตัวขึ้นไป
แพทย์จะนัดเก็บเชื้ออสุจิในวันที่นัดฉีดเชื้อเข้าสู่โพรงมดลูก ซึ่งจำเป็นต้องงดการมีเพศสัมพันธ์ 2-3 วันก่อนวันนัด
ฝ้ายหญิง
ยาฉีดหรือยาทานเพื่อกระตุ้นการตกไข่หลายใบ(บางคนอาจไม่จำเป็นต้องใช้ยาจะเริ่มใช้ยาในวันที่ 3 หลังจากที่ประจำเดือนมา
อัลตราซาวด์ตรวจดูขนาดของไข่ และเมื่อไข่มีขนาดที่พอเหมาะแพทย์จะฉีดยากระตุ้นให้ไข่ตก หลังจากนั้น 24-40 ชั่วโมง
ฉีดน้ำเชื้ออสุจิเข้าสู่โพรงมดลูก ซึ่งเป็นเวลาที่ไข่ตกพอดี
รู้ผลการตั้งครรภ์ภายใน 12-14 วันหลังการทำ
โอกาสการตั้งครรภ์มีประมาณ 10-20 เปอร์เซ็นต์
GIFT
ข้อบ่งชี้
ฝ่ายชาย
มีเชื้ออสุจิอ่อนแอไม่มากนัก
ฝ้ายหญิง
ต้องมีท่อนำไข่ที่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง
ความสำเร็จในการตั้งครรภ์แต่ละครั้งประมาณร้อยละ 30-40
ภายนอก
ZIFT
ข้อบ่งชี้
ฝ่ายชาย
อสุจิน้อยกว่าปกติ
ฝ้ายหญิง
ท่อนำไข่ไม่ตัน แต่ทำงานไม่ปกติ
ความสำเร็จในการตั้งครรภ์แต่ละครั้งประมาณร้อยละ 20-30
เป็นการเก็บไข่และอสุจิ มาผสมกันให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกายก่อน แล้วจึงนำตัวอ่อนในระยะ zygote ใส่กลับเข้าไปในท่อนำไข่
IVF&ET
ข้อบ่งชี้
ฝ่ายชาย
เชื้ออสุจิไม่แข็งแรง
ฝ่ายหญิง
ท่อนำไข่อุดตันทั้ง 2 ข้าง
ความสำเร็จในการตั้งครรภ์แต่ละครั้งประมาณร้อยละ 20-50
เป็นการเก็บไข่และอสุจิ มาผสมกันให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกายจนแบ่งเซลล์เป็นตัวอ่อน จนถึงระยะ 4-8 cells หรือเป็น blastocyst แล้วจึงใส่กลับเข้าสู่โพรงมดลูก
ICSI
ข้อบ่งชี้
ฝ่ายชาย
เป็นหมัน
การฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรงซึ่งทา ภายใต้กล้องขยายกำลังสูงหลังจากเซลล์ไข่ถูก ฉีดอสุจิเข้าไปจะเกิดการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อนขึ้น เนื่องจากวิธีนี้ทำให้อสุจิไม่ต้องว่ายไปหาไข่ไม่ ต้องเจาะผนังเซลล์ไข่เองทำให้อสุจิที่ไม่แข็งแรง สามารถปฏิสนธิกับไข่ได้
เป็นการเก็บไข่และอสุจิ มาผสมกันให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกายจนแบ่งเซลล์เป็นตัวอ่อน จนถึงระยะ 4-8 cells หรือเป็น blastocyst แล้วจึงใส่กลับเข้าสู่โพรงมดลูก
เหมาะสำหรับผู้ที่มีสเปิร์มน้อย มากๆ
นางสาวปภัสรา เทพรัต เลขที่50
ห้องA รหัสนักศึกษา613601053