Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็ก, น.ส.ปฐมวรรณ สงวนจีน เลขที่63 รุ่น36/1 รหัส612001064 -…
การพยาบาลเด็ก
การพยาบาลเด็กไฟไหม้น้ำร้อนลวก Burns
แผลเล็ก
ปวดแสบปวดร้อนและค่อยๆหายไปเอง
แผลกว้างและลึก
มักมีภาวะแทรกซ้อนตามมา
ทุพพลภาพ เสียชีวิต
สาเหตุ
ไฟ
พลุ บุหรี่
เตาไฟ ตะเกียง
วัตถุร้อน
เตารีด
จานชามร้อน
สารเคมี
กรด
ด่าง
รังสี แสงแดด เป็นต้น
อาการ ขนาดความกว้างของบาดแผล
สูญเสียน้ำ โปรตีน เกลือแร่
อาจมีภาวะช็อก ติดเชื้อ
แผล1ฝ่ามือ=1%ของผิวหนังทั่วร่างกาย
ต่ำแหน่งตามข้อพับต่างๆ อาจเป็นแผลดึงรั้ง เหยียดออกไม่ได้
ความลึกบาดแผล
ชั้นหนังกำพร้า
ชั้นหนังแท้
แบ่งออกเเป็น3ระดับ
ระดับที่1
มีการทำลายเซลล์หนังกำพร้าชั้นนอก
จะหายได้เร็วและสนิท
ไม่เป็นแผลเป็น
ระดับที่2
ชนิดตื้น
ทำลายหนังกำพร้าชั้นนอกและชั้นในสุด
หายภายใน2-3 สัปดาห์
ยกเว้นพุพองเป็นตุ่มน้ำใส อาจติดเชื้อได้
ชนิดลึก
ทำลายหนังแท้ส่วนลึก
แผลสีเหลืองขาว แห้ง ไม่ปวด
หายภายใน3-6สัปดาห์
ระดับที่3
ทำลายหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด รวมถึงต่อมเหงื่อ
ไม่ปวด เซลล์ประสาทถูกทำลาย
โอกาสแผลหดรั้ง และข้อติด
การพยาบาล
แผลตุ่มน้ำใส ไม่ควรเจาะเอาน้ำออก
หากแผลกว้าง10-15% อาจทำให้ผู้ป่วยช็อกได้
ล้างแผลด้วยน้ำสะอาด ผ้าก๊อซหรือผ้าแห้งสะอาดปิดแผล
การรักษา
ยาปฏิชีวนะเฉพาะที่ นิยมคือ1% silver sulfadiazine
การติเชื้อหลังมีบาแผล2-3วันไปแล้ว
แผลระดับ2 มากกว่า30% ระดับ3มากกว่า10% เป็นบาดแผลรุนแรง
แผลหายหลังการปลูกถ่ายผิวหนัง ควรใส่ผ้ายืด
การพยาบาลกระดูกหัก Bone fracture
มีรอยแตก รอยแยก หรือไม่ต่อเนื่องของเนื้อกระดูก
แบ่งตามบาดแผล
กระดูกหักชนิดไม่มีแผล
กระดูกจะไม่โผล่ออกมาข้างนอก
กระดูกหักแบบแผลเปิด
กระดูกหักแทงทะลุออกมานอกเนื้อ
อาจทำให้ตกเลือด สูญเสียแขนขา
แบ่งตามรอยหักของกระดูก
กระดูกหักทั่วไป
กระดูกหักยุบเข้าหากัน
กระดุกเดาะ
กระดูกแตกด้านเดียว อีกข้างโก่งตามแรงกด
การปฐมพยาบาล
หากเลือดออกให้ห้ามเลือดก่อน
เลือดไม่หลุดไหลให้หาสายรัดเหนือบาดแผลแน่นๆ แล้วคลาย
CPR
ดามกระดูกที่หัก
อาจใช้แผ่นไม้ พลาสติกแข็ง ร่มแบบดามชั่วคราว และควรมีสิ่งนุ่มรองผิวหนังส่วนนั้นอยู่เสมอ
ประเมินบริเวณบาดเจ็บ
ประคบน้ำแข็งตรงบาดแผล
ประคบประมาณ20นาที หรือจนกว่าบริเวณนั้นจะชาค่อยเอาออก
อย่าพยายามดึงกระดูกเข้าด้วยตนเอง จัดท่าบริเวณที่ดามให้สุขสบาย
ถ้าส่วนที่หักเป็นปลายแขน ใช้ผ้าคล้องคอ ถ้าเป็นนิ้วใช้ไม้ดามนิ้ว
ถ้ากระดูกหักบริเวณกระดูกใหญ่ ควรจดเคลื่อนไหวร่างกาย
หลังใส่เฝือกถ้ามีอาการปวด คับเฝือกให้ยกขาสูง ประคบเย็น หากอาการไม่ดีขึ้นควรพบแพทย์
การพยาบาลเด็กที่ได้รับสารพิษ
สารพิษ
สารที่มีสภาพของแข็ง ของเหลว ก๊าซสามารถเข้าสู่ร่างกาย โดยการกิน การฉีด การหายใจหรือสัมผัสทางผิวหนัง
จำแนกตามลักษณะการออกฤทธิ์
ชนิดกินเนื้อ
เนื้อเยื่อร่างกาย ไหม้ พอง
ชนิดทำให้ระคายเคือง
ปวดแสบ ปวดร้อน อักเสบ
ชนิดกดระบบประสาท
หมดสติ หลับลึก
ปลุกไม่ตื่น ม่านตาหดเล้ก
ชนิดที่กระตุ้นระบบประสาท
เพ้อคลั่ง ใบหน้าผิวหนังแดง
ชีพจรเร็ว ม่านตาขยาย
การประเมินภาวะการได้รับสารพิษ
น้ำลายฟูมปาก
รอยไหม้นอกริมฝีปาก
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
กลิ่นสารเคมีบริเวณปาก
เพ้อ ชัก หมดสติ
หายใจขัด หายใจลำบาก
ตัวเย็น เหงื่อออก
ผื่นจุดเลือดออกตามผิวหนัง
การปฐมพยาบาล
ผู้ได้รับสารพิษทางปาก
ให้นม
นำส่งโรงพยาบาล
ให้อาเจียน
ยกเว้นกรณี หมดสติ ได้รับสารพิษกัดเนื้อ รับประทานน้ำมันปิโตเลียม
ดูดซับสารพิษในทางเดินอาหาร
ผู้ได้รับสารกัดเนื้อ
หากรู้สึกตัวให้ดื่มนม
ห้ามอาเจียน
นำส่งโรงพยาบาล
ผู้ที่ได้รับสารพวกน้ำมันปิโตเลียม
ห้ามอาเจียน
หากอาเจียนให้จัดศรีษะต่ำ เพื่อไม่ให้น้ำมันเข้าปอด
นำส่งโรงพยาบาล
ผู้ที่ได้รับยาแก้ปวด ลดไข้
ให้สารพิษเจือจาง
ให้ดูดซับสารพิษที่อาจหลงเหลือในระบบทางเดินอาหาร
ห้ามอาเจียน
ผู้ที่ได้รับสารพิษทางการหายใจ
นำผู้ป่วยออกจากจุดเกิดเหตุ
ประเมินการหายใจ ผายปอด นวดหัวใจและส่งโรงพยาบาล
กลั้นหายใจ เปิดประตูหน้าต่าง เพื่อให้อากาศถ่ายเท
ผู้ป่วยสารเคมีถูกผิวหนัง และสารเคมีเข้าตา
อย่าให้ยาแก้พิษทางเคมี
ล้างน้ำสะอาด อย่างน้อย15นาที
บรรเทาอาการปวด ปิดแผล ปิดตา นำส่งโรงพยาบาล
น.ส.ปฐมวรรณ สงวนจีน เลขที่63 รุ่น36/1 รหัส612001064