Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่5 การออกแบบการวิจัย, สรุปบทที่10 การเขียนโครงร่างและรายงานการวิจั…
สรุปบทที่5 การออกแบบการวิจัย
ประเภทของการออกแบบวิจัย
แบ่งตามระยะเวลา
การวิจัยแบบระยะยาว
การวิจัยแบบตัดขวาง
แบ่งตามประโยชน์ของผลการวิจัยที่นําไปใช้
การวิจัยประยุกต์
การวิจัยและพัฒนา
การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์
แบ่งตามลักษณะของเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจัยเชิงปริมาณ
การวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยแบบผสานวิธี
แบ่งตามช่วงเวลาที่ศึกษาวิจัย
การวิจัยร่วมสมัย
การวิจัยเชิงอนาคต
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร
แบ่งตามโครงสร้างของงานวิจัย
การวจิ ัยแบบทดลอง
การวจิ ัยแบบไม่ทดลอง
หลักการของการออกแบบการวิจัย
หลักการ แมกซ์–มิน-คอน
การลดความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการดําเนินการวิจัยให้น้อยที่สุด
กระบวนการสุ่ม
การทําใหเ้ครื่องมือการวิจัยมีคุณภาพ
การจับคู่
การกําจัดตัวแปรแทรกซ้อน
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกแบบการวิจัย
ความเป็นไปได้ในการวิจัย
ระดับของการอธิบายความเป็นเหตุเป็นผล
เลือกรูปแบบการวิจัย
ความตรง
การควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน
ขั้นตอนการออกแบบการวิจัย
การกําหนดขอบเขตการวิจัย
การกําหนดแนวทางการวจิ ัย
.1 การออกแบบวัดตัวแปร
2 การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง
3 การออกแบบการวิเคราะหข้อมูล
การกําหนดปัญหาการวิจัย
จุดมุ่งหมายของการออกแบบการวิจัย
ความประหยัดงบประมาณ คน เวลา
ได้คําตอบของปัญหาการวิจัยที่ถูกต้อง แนวคิด ทฤษฎี
วิทยาศาสตร์
การดําเนินการวิจัยเป็นระบบ กระบวนการวิจัย
ลักษณะของแบบการวิจัยที่ดี
สามารถควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้
ปราศจากความสับสน
การเลือกใช้สถิติที่ถูกต้องในการทดสอบสมมุติฐาน
เกณฑ์การออกแบบวิจัย
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
การออกแบบการวัดค่าตัวแปร
สรุปบทที่10 การเขียนโครงร่างและรายงานการวิจัย
องค์ประกอบที่สําคัญ 3 ส่วนของรายงาน
ส่วนเนื้อหารายงาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 การดําเนินการวิจัย
บทที่ 1 บทนํา
บทที่ 4 ผลการวเิคราะห์ข้อมูล
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
ส่วนท้าย/อ้างอิง
ภาคผนวก
ประวัติผู้วิจัย
รายการอ้างอิง/ บรรณานุกรม
ส่วนต้น
หน้าประกาศคุณูปการ
ปกหน้า
บทคัดยอ
สารบัญ
บัญชีตาราง
บัญชีภาพประกอบ
การเขียนโครงร่างการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการเขียนโครงร่างการวิจัย
เพือนําเสนอต่อหน่วยงาน องค์กร สถาบัน บุคคล เพือขอรับทุนสนับสนุน
นําเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือเพือนนักวิจัย เพื่อให้ข้อเสนอแนะช่วยเหลือปรับปรุงให้มีความชัดเจน เหมาะสมและดีขึ้น
เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ ในโครงร่างการวิจัย
หลักการเขียนโครงร่างวิจัย
วัตถุประสงค์การวิจัย
สอดคล้องกับชื่อ เรื่องและคําถามการวิจัย
ต้องกําหนดวัตถุประสงค์ทั่วไปและวัตถุประสงค์เฉพาะ
คําถามวิจัย
คําถามการวิจัยชัดเจนจะช่วยผู้วิจัยกําหนดวัตถุประสงค์ตังสมมุติฐาน นิยามตัวแปร
สัมพันธ์กับเรื่องที่ศึกษามีคําถามหลักและหรือคําถามรอง
ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
อธิบายแนวคิด/ทฤษฏีของตัวแปรทีศึกษา
สภาพปัญหาในปัจจุบัน มีข้อมูล/สถิติ
ขอบเขตการวิจัย
ระบุให้ครอบคลุมประเด็นที่ศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่ค้นพบจะนำไปใช้ประโยชน์อะไร
ต่อใคร แก้ปัญหาใด
สมมติฐานการวิจัย
งานวิจัยบางเรื่องไม่จําเป็นต้องมีสมมุติฐาน
เขียนความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามโดยระบุขนาดและทิศทาง
คำนิยามศัพท์หรือคําจํากัดความในการวิจัย
นิยามคําศัพท์ทีใช้ในการวิจัยเป็นคําศัพท์เชิงปฏิบัติการ
นิยามศัพท์ตัวแปรต้องให้คำจํากัดความอย่างชัดเจนที่สามารถสังเกตและวัดได้
ชื่อเรื่องวิจัย
ควรตั้งให้ดึงดูดและน่าสนใจ
กะทัดรัดชัดเจน และสื่อความหมายครอบคลุมเนื้อเรื่องทั้งหมด
กรอบแนวคิดการวิจัย
การตรวจสอบความถูกต้องของทฤษฎี
คําอธิบายความสัมพันธเ์ชิงเหตุและผลของปรากฏการณ์ต่างๆ
วิธีดำเนินการวิจัย
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพ
การออกแบบการวิจัย
การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่างวิจัย
การรวบรวมข้อมูล
การวเิคราะห์ข้อมูล
รายการอ้างอิง หรือบรรณานุกรม
(ผู้แต่ง,ปีทีพิมพ์,เลขหน้า)
งบประมาณแผนการดําเนินการวิจัย
กิิจกรรมในการทําวิจัยใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง
จํานวนเท่าไหร่ จงรายละเอียด
ค่าใช้จ่าย
13.แผนการดําเนินการวิจัย
เขียนเป็น Gantt chart
กําหนดกิจกรรมต่างในงานวิจัยให้ระบุช่วงเวลา
เขียนแผนการดําเนินงานตั้ง แต่เริ่มแรกจนสิ้นสุดโครงการ
โครงร่างการวิจัย หมายถึง แบบแปลนทีเขียนขึนในการแสวงหาความรู้โดยแสดงใหเ้ห็นความสําคัญ และความเป็นไปได้ในการดําเนินการวิจัยให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายได้และใชเ้ป็นแนวทางในการดําเนินการวิจัย
หลักการเขียนรายงานการวิจัย
ความถูกต้องและทันสมัยของเนื้อหา
ความเรียบร้อยของรายงาน
ความเหมาะสมและความถูกต้องด้านภาษา
ความมีจรรยาบรรณของนักวิจัย
รูปแบบถูกต้อง
วัตถุประสงค์การเขียนรายงานการวิจัย
เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในการรวบรวมข้อมูลประกอบการอ้างอิงเป็นวิธีการหาความรู้ด้วยตนเอง
เพื่อเสนอข้อเท็จจริงหรือความรู้ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ
เพื่อพัฒนาความคิดด้านการคิดริเริ่ม การวิเคราะห์ การประมวลความคิดอย่างมีระบบ และถ่ายถอดความคิดเป็นภาษาทีชัดเจนสละสลวย
นายภัทรพงศ์ สารีพิมพ์ ปี2 รหัส613101066