Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.3 กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ, 3.4 กฏหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ,…
3.3 กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
กำหนดสิทธิและหน้าที่ในการป้องกันและรักษาไว้ซึ่งชีวิต ร่างกาย อนามัยของประชาชน เพื่อให้มีสุขภาพที่ดี
ข้อจำกัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ผู้ที่กระทวง เทศบาล สุขภิบาล กรม หรือสภากาชาดไทย จะต้องเป็นบุคคลที่ระเบียบกำหนด
2.ทำการประกอบวิชาชีพได้เฉพาะบางอย่าง ดังนี้
2.1เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขกำหนด
2.2 เป็ฯการปฏิบัติราชการหรือ อยู่ในสถานพยาบาลเท่านั้น
2.3 ต้องอยุ่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
บุคคลที่สามารถประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ มีดังนี้
3.1 พนักงานอนามัย
3.2 เจ้าพนักงานสาธารณสุข
3.3 ผู้สำเร็จประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์
3.4 ผู้ช่วยพยาบาลและผดุงครรภ์ ผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวช
3.5 พนักงานสุขภาพชุมชน
3.6 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและารผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง
3.7 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง มีรายละเอียดดังนี้
ด้านอายุรกรรม
ให้การรักษาเบื้องต้น เพื่อบรรเทาอาการของโรค
ไข้จับสั่น ตัวร้อน อาหารเป็นพิษ โรคติดต่อตามโครงการสาธารณสุข
2.การรักษาพยาบาลอื่นๆ
2.1การให้น้ำเกลือ
2.2การฉีดเซรุ่มแก้พิษงู
2.3การสวนปัสสาวะ
2.4การสวนล้างกระเพาะอาหาร
3.ด้านศัลยกรรม
3.1ผ่าฝี
3.2เย็บบาดแผลไม่สาหัส
3.3ตกแต่งลาดแผล ทำแผล
3.4ผ่าเอาสิ่งแปลกปลอมออก โดยฉีดยาชา
4.ด้านสูตินรีเวชกรรม
4.1ทำคลอดปกติ
4.2ช่วยเหลือในรายที่คลอดผิดปกติ
4.3ช่วยเหลือ กรณีทำแท้ง
4.4การฉีดวัคซีนป้องกันโรค
4.5การวางแผนครอบครัว ฉีดยาคลุมกำเนิด
4.6เจาะโลหิตปลายนิว/หลอดเลือดดำ
4.7ปฐมพยาบาลผู้ได้รับสารพิษ
การให้ยาสลบ
ให้ได้เฉพาะยาสลบชนิด gerneral anesthesia ไม่รวมการให้ยาชาทางไขสันหลัง
การใช้ยาตามบัญชียา
ไม่เกินยาสามัญประจำบ้าน
หลักการใส่ห่วงและถอดห่วงอนามัย
1.ทดสอบผู้ขอรับว่าไม่ตั้งครรภ์
2.ผู้ขอรับคลอดบุตรมาแล้ว 45-60 วันและยังไม่มีประจำเดือน
3.ผู้ขอรับคลอดหรือแท้งลูกมาแล้ว 30 วัน และยังไม่มีประจำเดือน
กฏหมายแพ่งที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ลักษณะกฏหมาย
กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต
การฟ้องร้องผู้เสียหายต้องดำเนินคดีด้วยตัวเอง หากมีการประนีประนอมกัน ศาลอนุญาตให้ถอนฟ้องได้
ความสัมพันธ์ของบุคคล
นิติกรรม คือ การกระทำของบุคคลที่ชอบด้วยกฏหมาย เช่น การโอน หรือระงับสิทธิ
องค์ประกอบ มีดังนี้
1.การกระทำว่าด้วยวาจา/ลายลักษณ์อักษร
2.การกระทำชอบโดยกฏหมาย ไม่ขัดต่อกฏหมาย
แบ่งเป็น 2 ประเภท
1.นิติกรรมฝ่ายเดียว การแสดงเจตนาของบุคคลฝ่ายเดียว เช่น การทำพินัยกรรม
2.นิติกรรมสองฝ่าย การแสดงเจตนาตั้งแต่บุคคลสองฝ่ายขึ้นไป คือมีฝ่ายเสนอและฝ่ายสนอง เมื่อความต้องการตรงกัน จึงมีการทำสัญญาว่าจ้าง สัญญาซื้อขาย
ผู้ที่ไม่สามรถทำนิติกรรมได้ มีดังนี้
1.ผู้เยาว์ คือ บุคคลที่อายุไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ หรือทำการสมรสชอบโดยกฏหมายที่มีอายุ 17 ปีบริบูรณ์ และต้องได้รับความยินยอมจากบิดา มารดา ผู้ปกคราอง
2.คนไร้ความสามารถ คนวิกลจริต แต่ศาลจะตั้งบุพการีเป็นผู้อนุบาลทำนิติกรรมแทน
3.คนเสมือนไร้ความสามารถ เช่น ติดสุรา พิการ
สัญญา คือการตกลงสมัครใจด้วยกันทั้งสองฝ่าย
ละเมิด คือการกระทำที่ทำให่เกิดความเสียหายแก่ชีวิต ทรัพย์สิน หรือสิทธิของผู้อื่น
องค์ประกอบ 3 ประการ คือ
1.การกระทำผิดต่อกฏหมาย
2.การกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
3.ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
การชดใช้ค่าเสียหาย
กรณีทรัพย์สินเสียหาย การคืนทรัพย์สินที่เสียหาย หรือใช้ราคาทรัพย์สินรวม
กรณีผู้เสียหายถึงแก่ความตาย
1.ค่าปลงศพ หรือค่าใช้จ่ายอันจำเป็นเกี่ยวกับการปลงศพ เช่น ค่าโลงศพ ค่าธรรมเนียมวัด
2.ค่าอุปกรการเลี้ยงดู
3.ค่าขาดแรงงาน
4.ค่ารักษาพยาบาล
กรณีไม่ถึงแก่ความตาย
1.ค่ารักษาพยาบาล
2.ค่าขาดประโยชน์ทำมาหากิน
3.ค่าสูยเสียความสามารถ เช่นพิการ
4.ค่าทำขวัญ
สภาพบังคับกฏหมาย
1.โมฆะกรรม มีองค์ประกอบดังนี้
1.1ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฏหมาย
1.2การพ้นวินัย
1.3ขัดต่อศีลธรรมของสังคม
2.โมฆียกรรม คือนิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์
2.1นิติกรรมทำผิดใรคุณสมบัติของคู่สัญญา
2.2นิติกรรมทำขึ้นโดยคู่สัญญาหย่อนความสามารถในการทำนิติกรรม
3.การบังคับชำระหนี้
เป็นการชำระหนี้ด้วยเงินหรือทรัพย์สิน
4.การชดใช้ค่าเสียหาย
หลักสำคัญที่ถือว่าเป็นการละเมิด
1.การทำผิดกฏหมายกับบุคคลอื่น
2.การกรพทำผิดโดยจงใจ
3.ทำให้บุคคลอื่นเสียหายแก่ชีวิต
4.ผู้กระทำต้องชดใช้ค่าสินไหม
กรณีผู้เสียหายถึงแก่ความตาย
1.ค่าปลงศพ
2.ค่าขาดไร้อุปการะ
3.ค่าขาดแรงงาน
กรณีผู้เสียหายไม่ถึงแก่ความตาย
1.ค่ารักษาพยาบาล
2.ค่าเสียความสามารถในการประกอบงานในอนาคต
3.ค่าเสียหายอื่น
อายุความ หมายถึง
ระยะเวลาของกฏหมายที่กำหนด มีสิทธิเรียกร้องได้ในระยะเวลานั้น ถ้าเลยเวลาแล้วสิทธิจะถูกโต้แย้ง เรียกว่า สิทธิแห่งการเรียกร้องนั้นขาดอายุความ
3.4 กฏหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ
กฏหมายอาญา คือ กำหนดความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับราษฏร เกี่ยวกับการกระทำความผิดและการลงโทษฝ่าฝืน
แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1.ประมวลกฏหมายอาญา
รับของโจร วิ่งราว ปล้นทรัพย์ ฉ้อโกงปลอมแปลงเอกสาร ข่มขืนกระทำชำเรา
2.กฏหมายอาญาประเภทอื่นๆ
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ 2528
พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ 2525
พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ 2479
ความผิดทางอาญา คือการกระทำผิดที่กระทบต่อสังคม แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1.ความผิดต่อแผ่นดิน
2.ความผิดส่วนตัว
ความผิดไม่ร้ายแรง มีผลกระทบความเสียหายฝ่ายเดียวถือว่าเป็นเรื่องส่วนตัว
ถ้าผู้เสียหายไม่เอาเรื่อง รัฐไม่สามารถดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดได้
หลักเกณฑ์การรับผิดทางอาญา มีดังนี้
1.ต้องมีการกระทำ
2.การกระทำผิดทางกฏหมาย
3.กระทำโดยเจตนา
4.ไม่มีกฏหมายยกเว้นความผิด
การกระทำ หมายถึง การเคลื่นไหวร่างกายภายใต้การควบคุมของจิตใจ หรือไม่ก็ได้
อาการชักกระตุก (convulsion)
รีเฟล็กซ์ (reflex)
อาการไม่รู้สึก (unconscious)
ปะเภทของการกระทำ
1.การกระทำโดยเจตนา มาตรา59 วรรค 2
1.1ต้องกระทำโดยรู้สึกในการกระทำ
1.2ต้องกระทำโดยหวังผล
2.การกระทำโดยประมาท มาตรา 59 วรรค 4
2.1เป็นการกระทำไม่เจตนา
2.2กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง
2.3ผู้กระทำระมัดระวังไม่เพียงพอ
3.การกระทำโดยไม่เจตนา
การกระทำที่ไม่หวังผลแต่เมื่อกระทำแล้วเกิดผลรุนแรง เช่นไม่เจตนาฆ่า ต้องจำคุกตั้งแต่ 3-5 ปี
4.การกระทำโดยงดเว้น
หน้าที่ต้องกระทำเกิดขึ้นได้ 2 กรณี ดังนี้
1.โดยกฏหมายบัญญัติ
บิดา มารดามีหน้าที่เลี้ยงดูบุตร
2.โดยการกระทำผิดเอง
เป็นพยาบาลหลับในเวรปล่อยให้ออกซิเจนหมด ผู้ป่วยถึงแก่ความตาย
หลักเกณฑ์ การป้องกันโดยชอบด้วยกฏหมาย
1.เป็นภยันตรายที่เกิดจากการประทุษร้ายละเมิดต่อกฏหมาย
2.เป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง
3.เป็นการกระทำเพื่อป้องกันสิทธิของตนเองหรือผู้อื่นให้พ้นอันตราย
ความยินยอม หมายถึง การอนุญาตให้กระทำ มีองค์ประกอบดังนี้
1.ยินยอมโดยบริสุทธิ์ใจ
2.ความยิยอมอยู่ในขณะกระทำผิด
3.ไม่ขัดต่อวามสงบหรือศีลธรรม
หลักเกณฑ์การกระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน มีดังนี้
1.การะทำตามคำสั่งเจ้าพนักงานที่ได้รับการแต่งตั้งตามกฏหมาย
2.คำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฏหมาย
3.ผู้กระทำมีหน้าที่โดยสุจริตใจที่ต้องปฏิบัติตาม
หลักการของการกระทำที่ไม่รู้ผิดชอบ
1.ไม่สามารถบังคับตนเองได้
2.จิตบกพร่อง โรคจิต
กระทำผิดด้วยความจำเป็น
1.ภายใต้อำนาจที่ไม่อาจขัดขืนได้
2.เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นพ้นจากอันตราย เมื่อภยันตรายนั้นไม่ได้เกิดขึ้นจากการะทำของตนเอง
อายุความและโทษทางอาญา หากจำเลยหนีไปจนหมดอายุความแล้ว พนักงานอยัการจะสั่งฟ้องผู้ต้องหาไม่ได้ หรือศาลลงโทษจำเลยไม่ได้
สภาพบังคับของกฏหมาย การลงดทษที่แสดงออกถึงความรู้สึกในการตอบโต้ผู้กระทำผิด เช่นการประหารชีวิต เพื่อให้สาสมกับความผิดที่กระทำ
โทษสำหรับผู้กระทำ มีดังนี้
1.ประหารชีวิต
2.จำคุก
กักขัง
ปรับ
ริบทรัพท์สิน
ความผิดทางอาญาในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
1.การไม่ช่วยเหลือหรือปฎิเสธการประกอบวิชาชีพ
โทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
2.ประกอบวิชาชีพโดยผู้ป่วยไม่ยินยอม
โทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
3.ทอดทิ้งหรือปล่อยปะละเลยผู้ป่วย
โทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
4.การเปิดเผยความลับผู้ป่วย
โทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
5.ประมาทในการประกอบวิชาชีพ
โทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
6.การรับรองเอกสารอันเป็นเท็จ
โทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
7.การทำให้แท้งลูก
โทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
นางสาวพรภัสส์ษา ภัทรวิกรัยกุล เลขที่1 36/2 ร.612001081