Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาสุขภาพ เนื่องจากการตั้งครรภ์…
บทที่ 4 การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาสุขภาพ เนื่องจากการตั้งครรภ์ (ความผิดปกติของการตั้งครรภ์) (ต่อ)
ความผิดปกติของน้ำคร่ำ
-
การวนิิจฉัย
-
ตรวจร่างกาย + ตรวจครรภ์ >>> หน้าท้องขยายใหญ่ มดลูกรูปร่างกลมมากกว่ารูปไข่ ผนังหน้าท้องบาง ตึง เป็นมันใส เส้นเลือดดำขยายเห็นชัดเจนทางหนาท้อง หน้าท้องแตกลายมากกว่าปกติ คลำ หาส่วนของทารกยาก กดไม่ค่อยลง บางราย อาจตรวจพบ fluid thrill ฟัง FHR ไม่ได้ยินหรือได้ยินไม่ชัด น้ำหนักเพิ่มขึ้น มากกว่า 1 กิโลกรัม/สัปดาห์
-
ผลต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์ >>> ไม่สุขสบาย แน่นอึดอัด หายใจไม่สะดวก เคลื่อนไหวลำบาก เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด สายสะดือพลัดต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด ทารกไม่อยู่ในท่าปกติ (malposition)
ระยะคลอด >>> มดลูกหดรัดตัวไม่ดี การคลอดล่าช้า เกิดภาวะสายสะดือย้อย เพิ่มโอกาสการผ่าตัดคลอดทารกทางหน้า ท้อง เสี่ยงตกเลือดจากรกลอกตัวก่อนกำหนดเนื่องจากมดลูกลดขนาดอย่างรวดเร็ว มารดาอาจช็อกจากความดันในช่องท้องลดลงอย่างรวดเร็ว
-
-
การรักษา
-
-
การเจาะถุงน้ำในระยะคลอด (amniotomy) ระวังให้น้ำคร่ำไหลออกช้าที่สุด ป้องกันสายสะดือย้อย และรกลอกตัวก่อนกำหนด รวมถึงระวังการติดเชื้อ
-
ข้อวนิิจฉัยการพยาบาล
-
-
-
-
-
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ 1. อธิบายสภาวะของโรค แผนการรักษา และเปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย 2. แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอโดยนอนท่าศีรษะสูง หรือนอนตะแคงซ้าย 3. เน้นให้เห็นความสำคญของการมาตรวจตามนัด
ระยะคลอด 1. แนะนำนอนศีรษะสูง หรือนอนตะแคงซ้าย 2. ติดตามประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด 3. ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และเสียงหัวใจทารกทุกครึ่งถึง 1 ชั่วโมง
ระยะหลังคลอด 1. ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด สัญญาณชีพ เพื่อประเมินความเสี่ยงของ PPH 2. ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา เพื่อป้องกัน PPH 3. ตรวจร่างกายทารกอย่างละเอียด เพื่อประเมินความพิการหรือความผิดปกติ และให้การพยาบาลเพื่อป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับทารกแรกเกิด
-
-