Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ - Coggle…
บทที่ 5 การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ
อุบัติเหตุ (ACCIDENT)
อุบัติเหตุในเด็ก ( ACCIDENTS IN CHILDREN)
เด็กเป็นกลุ่มที่สามารถเกิดอันตรายจากอุบัติเหตุและความไม่ปลอดภัยต่าง ๆได้ ง่าย เนื่องจากธรรมชาติของวัยเด็กที่อยากเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ลองผิดลองถูก ไม่นิ่งเฉย ซุกซนปีนป่าย
ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ
ด้านตัวเด็กเอง
ความประมาทเลินเล่อ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ของบิดามารดา ผู้ปกครองหรือผู้ที่ดูแล เด็ก
. สิ่งแวดล้อม ทั้งสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม เป็นสาเหตุให้เกิดอุบติเหตุในเดก็ได้
ผลกระทบของกำรเกิดอุบัติเหตุในเด็ก
ผลกระทบด้านจิตใจ
ผลกระทบระยะยาว
ผลกระทบด้านร่างกาย อุบัติเหตุมผีลกระทบ
1.3 ผลกระทบต่อเนื้อเยื่อหรือกล้ามเนื้อของรางกาย
1.4ผลกระทบต่อกระดูก กรณีที่เกิดอุบัติเหตุรุนแรงอาจทำ ให้กระดูกหักหรือแตกร้าวได้ทำ ให้โครงสร้าง ของอวยัวะต่าง ๆ
1.2ผลกระทบต่อเส้นเลือด อาจมีการฉีกขาด เสียเลือด เสียชีวิต
1.5ผลกระทบต่อสมอง จากการถูกกระแทกบริเวณศีรษะ การหกล้มศีรษะฟาดพื้น
1.1ผลกระทบต่อผิวหนัง
อุบัติเหตุจากการอุดตันทางเดินหายใจ
การอุดตันทางเดินหายใจ
อาหาร ของเล่น เหรียญ แบตเตอรี่
การขาดอากาศ เล่นน การผูกคอ หรือการรัดคอ
1 การอุดตันทางเดินหายใจ
ที่นอนนุ่ม อุดกั้นทางเดินหายใจ
มารดาที่หลับลึกนอนทับ
ปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาเมื่อเกิดการอุดกันทางเดินหายใจ
1.สมองขาดออกซิเจน ทำ ให้เป็นอันตรายถึง แก่ชีวิตได้
เกิดภาวะปอดแฟบ ปอดพอง หรือหอบ หืดได้
ทำให้เกิดปอดอักเสบ, หลอดลมอักเสบ
4.สิ่งแปลกปลอมบางนิด เล่น ถ่านนาฬิกา ,ถ่านเครื่องคิดเลข
4.การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพ
การอุดตันทางเดินหายใจ
กรณีเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี (CHOCKING = สำลัก )
จับเด็กนอนคว่า บนแขน ให้ศีรษะต่ำ ลงเล็กน้อย
ให้ฝ่ามือตบลงตรงกลางหลังของเด็ก ระหว่างกลางของ สะบัก 2 ข้าง เร็วๆ 5 ครั้ง
ถ้าไม่ได้ผล จับทารกนอนหงายบนแขนให้ศีรษะต่ำ แล้วใช้ นิ้วชี้กับ นิ้วกลางวางบนกระดกูหน้าอกเหนือกระดูกลิ้นปี่ แล้วกดอกลง ประมาณครึ่งนิ้วถึง 1 นิ้ว เร็วๆ 5 ครั้ง
การพลัดตกหกล้มและชนกระแทก
การป้องกนัการพลัดตกหกล้มและชนกระแทก
หน้าต่างต้องอยู่สูงอย่างน้อย 1 เมตรเพื่อป้องกันไม่ให้เด็กปีนป่ายได้
เฟอร์นิเจอร์เช่น โต๊ะ ตู้ต้องม่มีมุมคมหากมีควรใส่อุปกรณ์กัน กระแทกที่มุมขอบทุกมุม
ราวบันไดและระเบียงต้องมีช่องห่างไม่เกิน 9 ซม. หรือหาแผ่นไม้มากั้นถ้าช่องห่างเกิน
การปฐมพยาบาล
ฟกช้ำ : 24 ชั่วโมงแรก ประคบเย็น เพื่อลดความบอบช้ำของเนื้อเยื่อ หลัง 24 ม.ให้ประคบอุ่น
เลือดออก/แผลฉีกขาด : ห้ามเลือด โดยกดบนแผลด้วยผ้าสะอาด แล้วทำ ความสะอาดแผลด้วย0.9%NSS และปิดแผล ถ้าแผลลึกให้ ห้ามเลือดและนา สง่โรงพยาบาล
กระดูกหัก : ให้หาวัสดุที่แข็ง เล่น ไม้อัด กระดาษแข็ง ที่มี ขนาดเหมาะสมกํบอวัยวะ และพันประคองอวัยวะไว้กับวัสดุที่ แข็งนั้น เพื่อไม่ให้กระดูกที่หักและเนื้อเยื่อรอบข้างบอบช้ำมาก
การเขย่าตัวเด็ก
ภัยใกล้ตัวที่เกิดขึ้นได้ทุกครัวเรือน โดยเฉพาะครอบครัวที่มีบุตรหลานวัยต่ำ กว่า 2 ปี อาจร้เท้าไม่ถึงการณ์เขย่าตัวลูก ไม่ว่าจะเพราะเล่น หรือโมโหที่ลูกร้องไห้ ทำ ใหท้ารกได้รับบาดเจ็บจนถึงแก่ชีวิตได้
การเขย่าทำ ให้เกิดเลือดออกในสมอง และประสาทตา ทำให้เด็กพิการทางสมอง ตาบอดหรือเสียชีวิตได้
SHAKEN BABY SYNDROME หรือกลุ่มอาการทารกถูกเขย่า
การป้องกัน คือ ห้ามเขย่าเด็ก
การป้องกันเด็กได้รับอันตรายจากอุบัติเหตุจากอาวุธขฟองมีคม และความรุนแรง
ไม่ควรเก็บปืนไวในบ้าน หากมีต้องเก็บให้มิดชิด มิให้เด็กหยิบได้ ไม่ให้เด็กเล่นของเล่นอันตราย เช่น พลุดอกไม้ไฟ เป็นต้น
ผู้ดูแลไม่ปล่อยให้เด็กใช้ความรุนแรงต่อกัน หรือรังแกกันใน ระหว่างเด็ก
ผู้ดูแลไม่สนับสนุน หรือจ้างวานให้เด็กซื้อหรือเสพเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ บุหรี่ยานอนหลับ ของมึนเมา และสิ่งเสพติดทุกชนิด
สอนใหเ้ด็กปกป้องตนเองจากบุคคลอนัตราย เช่น เพื่อนเกเร บุคคลเสพยาเสพติด บุคคลที่มีปัญหาทางดา้นอารมณ ์บุคคลที่เสพ ติดทางเพศ หรือเมาสุรา เป็นต้น
สอนให้เด็กรู้จักบอกเมื่อมีผู้อื่นมากระทำ หรือปฏิบัติโดยมิชอบ
6.ฝึกให้เด็กมีวิธีการจดัการความขัดแย้งอย่างเหมาะสม เช่น รับฟัง ความคิดเห็นยอมรับผิด ปรับปรุงตัว เป็นต้น