Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility), ข้อบ่งชี้, นางสาวอักษราภัค ศรีเวชดิษฐ์…
ภาวะมีบุตรยาก
(Infertility)
ความหมาย
การที่คู่สมรสไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ โดยไม่ได้คุมกำเนิดมาเป็นระยะเวลา 1 ปีและมีความสัมพันธุ์ทางเพศอย่างสม่ำเสมอ
การที่คู่สมรสไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ในระยะเวลา 6 เดือน ในกรณีที่ฝ่ายหญิงมีอายุเกิน 35 ปี
ประเภทของภาวะมีบุตรยาก
แบบปฐมภูมิ (Primary infertility) "ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากพยายามแล้ว นานกว่า 12 เดือน"
แบบทุตยภูมิ (Secondary infertility) "ฝ่ายหญิงเคยตั้งแล้วอาจคลอดหรือแท้งก็ตาม หลังจากนั้นไม่ตั้งครรภ์อีก"
สาเหตุ
สาเหตุจากฝ่ายหญิง (Female infertility)
immunological (5%)
อื่นๆ (5%)
Endometriosis (20%)
ท่อนำไข่ (30%)
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ (40%)
สาเหตุจากฝ่ายชาย (Male infertility)
Sexual factors (10%)
อื่นๆ (10%)
Sperm dysfunction (80%)
ภาวะทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล เป็นต้น
ความสามารถในการมีบุตร
อายุของฝ่ายชาย " มากกว่า 55 ปีขึ้นไป อสุจิจะผิดปกติมากขึ้น"
อายุของฝ่ายหญิง "21-25ปี มีโอกาสมีบุตรได้สูง"
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป เช่น โรคทางอายุรกรรมที่ทำให้มีบุตรยาก เป็นต้น
การตรวจต่อมไร้ท่อ เช่น Hypothalamas,Pituitary,Thyroid
การซักประวัติ เช่น ประวัติการมีประจำเดือน การผ่าตัด การคุมกำเนิด เป็นต้น
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์เพศหญิง ได้แก่ เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด ,คอมดลูก,ตัวมดลูก,ท่อนำไข่
การวินิจฉัย
การส่องกล้อง (Endoscopy) ได้แก่ การตรวจในอุ้งเชิงกราน (Laparoscopy),
การตรวจโพรงมดลูก (Hysteroscopy)
รังไข่ ได้แก่ BBT, Cx mucous, Endometrium biopsy, Serum progesterone
การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซ์เรย์ (Hysterosalpingogram : HSG)
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน ได้แก่ Laparoscope
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ ได้แก่ PCT (postcoital test)
เต้านม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจฮอร์โมนต่างๆ
การตรวจเลือดทั่วๆไป
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
ความหมาย : การตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในกระแสเลือดที่กึ่งกลางของระยะลูเทียล (midluteal serum progesterone level)
มากกว่า 10 μ/dl = มีการตกไข่และคอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติ
มากกว่า 5 μ/dl = มีการตกไข่
การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูกหรือการทำpostcoital test
การตรวจวัด basal body temperature หรือ BBT chart
การตรวจการทำงานของอสุจิหรือ sperm function
tests
การทำ post coital test
การทำเพื่อตรวจดูปากมดลูกและดูความสามารถของอสุจิที่จะว่ายผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูก
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์ของเพศชาย เช่น ลักษณะของรูปร่างอัณฑะ ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะ เป็นต้น
การซักประวัติ เช่น ประวัติการสูบบุหรี่ ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต การดำเนินชีวิตประจำวัน การได้รับอุบัติเหตุ การผ่าตัด เป็นต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดทั่วๆไป
การตรวจฮอร์โมน
การตรวจน้ำอสุจิ
เมื่อเก็บน้ำอสุจิได้ นำส่งตรวจภายใน 1 ชม.
ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่ากัน
งดการมีเพศสัมพันธุ์ก่อนวันตรวจ 2-7 วัน
ไม่แนะนำให้มีการมีเพสสัมพันธุ์ก่อนแล้วหลั่งด้านนอก
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ (Unexplained infertility)
คู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุตามมาตรฐานจนครบแล้ว แต่ไม่พบความผิดปกติ โดบได้ 10-15 %
การรักษาภาวะมีบุตรยาก
การรักษาแบบขั้นต้น (Conventional) ไม่เสียค่าใช้จ่ายมาก
การกระตุ้นไข่ (Ovulation induction)
การผสมเทียม ใช้สำหรับผู้ชายที่เชื้อ่อนแอ ใช้เครื่องมือฉีดอสุจิเข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์ของเพศหญิง
การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธุ์ (Timinginter course)
การฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูกโดยตรง Intra-uterine insemination (IUI)
การนำน้ำอสุจิที่ได้คัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่ ตัวอสุจิจะว่ายน้ำไปผสมกับไข่เอง จากนั้นแพทย์จะใช้ยากระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่า 1 ใบเพื่อเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์
วิธีการนี้จะไม่เหมาะสมกับบุคคล ดังนี้
ผู้หญิงที่ท่อนำไข่เสียหายหรือปัญหาอื่นๆที่ทำให้ไข่ไม่สามารถเข้าท่อนำไข่ได้
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีพังผืด
ผู้ชายที่มีปัญหาอสุจิ เช่น มีจำนวนน้อย เป็นต้น
วิทยาการการช่วยเหลือการมีบุตร (assisted reproductive technologies: ART)
การกระตุ้นการตกไข่
กระตุ้นโดยการให้ GnRH เป็นระยะ เป็นการให้ยาซึ่งเป็นฮอร์โมนสังเคราะห์ไปกีดกันการทำงานของอีสโทรเจนไม่ให้ไปยับยั้งการทำงานของ GnRH ทำให้มีการตกไข่มากกว่า 1 ใบ จากนั้นเลือกไข่ที่แข็งแรงและนำมาใช้ปฏิสนธินอกร่างกาย
มีวิธีต่างๆ ดังนี้
GIFT
( Gamete Intrafallopian Transfer ) คือการนำไข่และอสุจิมารวมกันแล้วใส่เข้าไปในท่อนำไข่ หลังจากนั้นกระตุ้นไข่เพื่อให้ไข่สุกหลายใบและเจาะดูดไข่ออกมาแล้วนำไข่ที่ได้มารวมกับตัวอสุจิที่คัดแยกแล้ว หลังจากนั้นฉีดเข้าไปในท่อนำไข่ทันที เมื่อเกิดการปฏิสนธิการแบ่งตัวของตัวอ่อนและการฝังตัวจะเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ZIFT
( Zygote Intrafallopian Transfer ) นำไข่และน้ำอสุจิที่เตรียมแล้วมาผสมกัน เพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 1 วัน ถ้าเกิดการปฏิสนธิจะใส่ตัวอ่อนผ่านหน้าท้องใส่ไปในท่อนำไข่ของฝ่ายหญิง
IVF
( In Vitro Fertilization) คือ การปฏิสนธินอกร่างกายและย้ายตัวอ่อน หรือเรียกว่า "การทำเด็กหลอดแก้ว" ทำได้โดยนำไข่และอสุจิที่เตรียมแล้วมาผสมกันนอกร่างกาย โดยเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ เมื่อมีการปฏิสนธิและแบ่งตัวเป็นตัวอ่อนในระยะ4-8เซลล์ ใช้เวลาเลี้ยง 2-5 วัน จากนั้นนำตัวอ่อนใส่เข้าไปในโพรงมดลูกเพื่อให้เกิดการเจริญเติบโตต่อไป
การเก็บไข่
โดยการแทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่โดยตรงหรือผ่านทางหน้าท้องไปที่รังไข่
การเก็บสเปิร์ม
โดยการหลั่งภายนอก เลือกสเปิร์มที่แข็งแรงเท่านั้น
Micromanipulation
คือ วิธีการรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยาก ซึ่งมีปัญหาด้านเชื้ออสุจิน้อยมาก
ไม่เคลื่อนไหว โดยการใช้เข็มเล็กๆเจาะเปลือกไข่แล้วนำเชื้ออสุจิวิ่งผ่านรูที่เจาะ
ปัจจุบันที่นิยม คือ อิ๊กซี่ ( Intracytoplasmic Sperm Injection; ICSI)
การฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรง หลังจากนั้นเซลล์ไข่ถูกฉีดอสุจิเข้าไปจะเกิดการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อนขึ้น เนื่องจากวิธีนี้อสุจิไม่ต้องว่ายน้ำไปหาไข่และไม่ต้องจาะผนังเซลล์ไข่เอง ทำให้เซลล์อสุจิที่ไม่แข็งแรงสามารถปฏิสนธิกับไข่ได้
เหมาะสำหรับผู้ที่มีสเปิร์มน้อยมาก
เป็นการนำเชื้ออสุจิเพียงหนึ่งตัวเจาะใส่เข้า Ooplasm โดยตรง
ข้อบ่งชี้
คู่สมรสผ่านการทำปฏิสนธินอกร่างกายแล้วแต่ตัวอสุจิกับไข่ไม่สามรถปฏิสนธิกันได้
Retrograde ejeculation
ตัวอสุจิมีรูปร่างผิดปกติ (Teratozoospermia)
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี (Asthenozoospermia)
ตัวอสุจิน้อยมาก (Oligozoospermia)
Immunological factor
ข้อบ่งชี้
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
ท่อนำไข่ตีบตัน
มีเยื่อบุพังผืดในอุ้งเชิงกราน
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
ความผิดปกติของการตกไข่
ความผิดปกติของปากมดลูก
สาเหตุจากฝ่ายชาย
นางสาวอักษราภัค ศรีเวชดิษฐ์ ชั้นปีที่2 ห้อง B เลขที่ 98 รหัสนักศึกษา 613601207