Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สายสะดือย้อย/ พลัดต่ำ
(prolapsed of umbilical cord)
Umbilical-Cord…
สายสะดือย้อย/ พลัดต่ำ
(prolapsed of umbilical cord)
ความหมาย
ภาวะที่สายสะดือลงมาอยู่ข้างๆของส่วนนำของทารกหรืออยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกหรือโผล่มานอกช่องคลอด เกิดจากส่วนนำของทารกเข้าช่องเชิงกรานไม่เต็มท ี่+ ไม่แนบกับส่วนล่างของมดลูก >>> เกิดช่องว่างให้สายสะดือเคลื่อนผ่าน และถูกกดระหว่างปากมดลูกกับส่วนนำ
-
-
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย: พบเสียงหัวใจทารกช้าลงขณะมดลูกหดรัดตัว
พบในสายสะดือพลัดต่ำชนิด
พบรูปแบบ FHR variable deceleration
และมี fetal bradycardia FHR <160/min
-
-
-
การพยาบาล
ป้องกัน
- ประเมิน FHS ทันทีภายหลังถุงน้ำคร่ำแตก และ PV
- ดูแลให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียงหลังถุงน้ำคร่ำแตก โดยเฉพาะรายที่ส่วนนำยังอยู่สูงหรือยังไม่ลงช่องเชิงกราน + ประเมิน UC + FHS
และการดิ้นของทารกเป็นระยะๆ
- แนะนำมาโรงพยาบาลทันทีเมื่อมีการแตกของถุงน้ำคร่ำ + สังเกตอาการผิดปกติ เช่น ลักษณะน้ำคร้ำ สิ่งที่ออกทางช่องคลอด หรือการดิ้นของทารก เป็นต้น
- ในรายที่แพทย์ทำการเจาะถุงน้ำ
ภาวะสายสะดือย้อย
- NPO และ ดูแลให้ได้รับ IV fluid ตามแผนการรักษา
- ดูแลให้ได้รับยาคลายตัวมดลูก (tocolytic drug) ตามแผนการรักษา
- กรณีที่สายสะดือย้อยออกมาภายนอกช่องคลอด >>> ใช้ผ้าชุบน้ำอุ่นคลุมไว้และไม่ควรใช้มือดันกลับเข้าไป เพราะอาจทำให้เกิด umbilical artery spasm >>> ทารกได้รับออกซิเจนลดลง
- เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสำหรับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการหรือการผ่าตัดคลอด
- ประเมินและบันทึกเสียงหัวใจทารกทุก 5 นาที หรือประเมินอย่างต่อเนื่องด้วย EFM
- ดูแลให้ผู้คลอดได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ โดยให้ออกซิเจน 10 lit/min ทาง face mask
- เตรียมผู้คลอดและอุปกรณ์ให้พร้อมสำหรับการทำให้กระเพาะปัสสาวะโป่งตึง
- เตรียมอุปกรณ์ทำคลอด อุปกรณ์สำหรับการช่วยคลอด และอุปกรณ์การช่วยฟื้นคืนชีพทารก ให้พร้อมใช้ + รายงานกุมารแพทย์
- ลดการกดสายสะดือจากส่วนนำโดยสอดมือเข้าในช่องคลอดแล้วดันส่วนนำของทารกไว้ขณะมดลูกคลายตัว
- ดูแลให้ผู้คลอดนอนในท่าที่ช่วยป้องกันส่วนนำของทารกลงมากดสายสะดือคือนอนในท่าศีรษะต่ำและก้นสูง
- อธิบายให้ผู้คลอดและครอบครัวทราบเกี่ยวกับภาวะที่เกิดขึ้น + แผนการรักษา + การปฏิบัติตัว
-