Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ, อ้างอิง : วิริยาภรณ์…
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ
การจมน้ำ
มี2ลักษณะ :star:
Near-Drowning
จมน้ำแต่ไม่สียชีวิตทันทีจะเสียชีวิตในเวลาต่อมา
Drowning
เสียชีวิตจาการจมน้ำ
มี2ประเภท :star:
การจมน้ำเค็ม ( Salt-water Drowning)
เกิดภาวะpulmonary edema
เกิดภาวะ hypovolemia
การจมน้ำจืด (Freshwater-Drowning)
เกิดภาวะhemolysis
เกิดภาวะ hypervolemia
การพยาบาล :star:
เด็กรู้สึกตัว
เช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อ้า ให้เกิดความอบอุ่น
จัดท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ แล้วส่งโรงพยาบาล
เด็กหมดสติ
1.ตรวจดูว่ายังหายใจหรือไม่
โทรเรียกหน่วยพยาบาล
3.นวดหัวใจสลับกับการช่วยหายใจ
ภาวะสำลักสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
ทำให้เกิดปัญหา :star:
เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนต้น
เกิดการอุดกั้นการระบายของเสมหะในทางเดินหายใจ
เกิดการอักเสบ ติดเชื้อ
ปอดอักเสบ
หลอดลมอักเสบ
เกิดการอุดกั้นของหลอดลมส่วนลาย
ปอดพอง
ปอดแฟบ
หอบหืด
การพยาบาลเด็กอายุ < 1 ขวบ :star:
วางเด็กคว่ำลงบนแขน และวางแขนข้างนั้นลงบนหน้าตัก โดยให้ศีรษะของเด็กอยู่ต่ำ
2.เคาะหลัง5ครั้งติดต่อกันโดยเคาะแถวๆกึ่งกลางของกระดูกสะบักทั้ง2ข้าง
พลิกเด็กให้หงายบนแขน อีกข้างหนึ่งวางบนหน้าตัก โดยให้ศีรษะอยู่ต่ำเช่นกันแล้วกดหน้าอกโดยใช้ 2 นิ้วของผู้ช่วย กดบนกระดูกหน้าอกในต่ำแหน่งที่ต่ำกว่าเส้นลาก ระหว่างหัวนมทั้ง2ข้างลงมา หนึ่งความกว้างนิ้วมือ
4.ทำซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
5.หากเด็กหมดสติ ให้ทำการประเมินหายใจ การเต้นชีพจร และให้การช่วยเหลือการหายใจสลับกับการเคาะหลังและกดหน้าอก
การพยาบาลเด็กอายุ > 1 ปี :star:
3.กดซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา
5.การกดท้องในเด็กหมดสติ ทำโดยให้เด็กอยู่ในท่านอนราบ ผู้ช่วยนั่งคร่อมตัวเด็ก วางสันมือบนท้องเด็กตำแหน่งสูงกว่าสะดือ กดในทิศทางเข้าด้านในและเฉียงขึ้น กด5 ครั้งแล้วเปิดปากสำรวจดูว่ามีสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาหรือไม่ กึ่งกลางท้องเด็ก
ทำการกดท้องโดยให้ผู้ช่วยยืนด้นหลังเด็ก อ้อมแขนมาด้านหน้า กำมือเป็นกำปั้น และวางกำปั้นด้านข้าง บนกึ่งกลางหน้าท้องเหนือสะดือเด็ก กดโดยให้มีแรงเข้าด้านใน และเฉียงขึ้นด้านบน
เมื่อ
หายใจลำบาก ซีด เขียว
เมื่อเด็กไม่พูด
4.หากเด็กหมดสติ ให้ประเมินการหายใจการเต้นชีพจร และให้การช่วยเหลือการหายใจสลับกัับการกดหน้าท้อง
1.กระตุ้นให้เด็กไอเอง
chest compression
เด็กโต
ตำแหน่งกึ่งกลางท่อนล่างกระดูกหน้าอก
ลึก 5cm =1/3ความหนาของทรวงอก
100-120ครั้ง/นาที
กดโดยใช้มือเดียว อีกข้างให้เปิดทางเดินหายใจ
เด็กทารก
100-120ครั้ง/นาที
ตำแหน่งกึ่งกลางท่อนล่างกระดูกหน้าอก
ลึก 4 cm
กดโดยการใช้นิ้วมือ2นิ้ว มืออีกข้างให้เปิดทางเดินหายใจ
วิธี Heimlich
ทำในท่านั่งหรือยืนโน้มตัวได้านหน้าเล็กน้อย
ผู้ช่วยเข้าทางด้านหลังใช้แขนทั้ง2ข้างโอบผู้ป่วยไว้
มือซ้ายประคองมือขวาที่กำมือไว้ใต้ลิ้นปี่
ดันกำมือขวาใต้ลิ้นปี่อย่างรวดเร็วเพื่อให้เกิดแรงดันในช่องท้อง ดันเข้าใต้กระบังลมผ่านไปที่ช่องทรวงอกเพื่อดันสิ่งแปลกลอมให้หลุดออกจากกล่องเสีง
คำแนะนำป้องกันการสำลักสิ่งแปลกปลอม :star:
1.เลือกชนิดและขนาดของอาหารให้เหมาะสมกับเด็กวัยต่างๆ ไม่ป้อนอาหารขณะเด็กวิ่งเล่น
2.เลือกของเ่นให้เหมาะกับวัยของเด็ก และเก็บสิ่งของที่เป็นอันตราย
สารพิษ ( Poisons)
จำแนกตามลักษณะการออกฤทธิ์ :star:
ชนิดกัดเนื้อ (Corrosive )
ได้แก่ สารละลายพวกกรดและด่างเข้มข้น น้ำยาฟอกขาว
ทำให้เนื้อเยื่อของร่างกายไหม้ พอง
ชนิดทำให้ระคายเคือง (Irritants )
ได้แก่ ฟอสฟอรัส สารหนู อาหารเป็นพิษ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ทำให้เกิดอาการปวดแสบ ปวดร้อน และอักเสบ
ชนิดที่กระตุ้นระบบประสาท (Dililants)
ทำให้เกิดอาการเพ้อคลั่ง ใบหน้าและผิวหนังแดง ตื่นเต้นชีพจรเต้นเร็ว ช่องม่านตาขยาย
ได้แก่ ยาอะโทรปีน ลำโพง
ชนิดที่กดระบบประสาท (Narcotics )
ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน พิษจากงูบางชนิด
ทำให้หมดสติ หลับลึก ปลุกไม่ตื่น ม่านตาหดเล็ก
การประเมินภาวะการได้รับสารพิษ :star:
เพ้อ ชัก หมดสติ มีอาการอัมพาตบางส่วนหรือทั่วไป ขนาดช่องม่านตาผิดปกติ อาจหดหรือขยาย
หายใจขัด หายใจลาบาก มีเสมหะมาก มีอาการเขียวปลายมือปลายเท้า หรือบริเวณริมฝีปาก ลมหายใจมีกลิ่นสารเคมี
การคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง น้าลายฟูมปาก หรือมีรอยไหม้นอกบริเวณริมฝีปาก มีกลิ่นสารเคมีบริเวณปาก
ตัวเย็น เหงื่อออกมาก มีผื่นหรือจุดเลือดออกตามผิวหนัง
การปฐมพยาบาล : :star:
ผู้ที่ได้รับสารพิษทางปาก
ทำให้สารพิษเจือจาง ให้นม
ให้สารดูดซับสารพิษในระบบทางเดินอาหาร
ไข่ขาว ๓ - ๔ ฟอง ตีให้เข้ากัน
Activated charcoa
ใช้ ๑ ช้อนโต๊ะ ละลายน้ำ ๑ แก้ว
ทำให้ผู้ป่วยอาเจียน เพื่อเอาสารพิษออกจากกระเพาะอาหาร
ห้ามในผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษชนิดกัดเนื้อ เช่น น้ำมันก๊าซ เบนซิน
ส่งโรงพยาบาล เพื่อทำการล้างท้องเอาสารพิษออกจากกระเพาะอาหาร
ผู้ที่ได้รับสารกัดเนื้อ (Corrosive substances )
อากการและอาการแสดง
ไหม้พอง ร้อนบริเวณริมฝีปาก ปาก ลาคอและท้อง คลื่นไส้ อาเจียน กระหายน้า และมีอาการภาวะช็อค ได้แก่ ชีพจรเบา ผิวหนังเย็นชื้น
ถ้ารู้สึกตัวดีให้ดื่มนม
อย่าทำให้อาเจียน
รีบนาส่งโรงพยาบาล
ผู้ที่ได้รับสารพวกน้ามันปิโตเลียม
ได้แก่ น้ามันก๊าด เบนซิน ยาฆ่าแมลงชนิดน้ำมัน
อาการและอาการแสดง
แสบร้อนบริเวณปาก คลื่นไส้ อาเจียน ซึ่งอาจสำลักเข้าไปในปอดทำให้หายใจออกมามีกลิ่นน้ามัน หรือมีกลิ่นน้ามันปิโตเลียม
อัตราการหายใจและชีพจรเพิ่ม อาจมีอาการขาด ออกซิเจน ซึ่งอาจรุนแรงมากมีเขียวตามปลายมือ ปลายเท้า
รีบนาส่งโรงพยาบาล
ห้ามทำให้อาเจียน
ระหว่างนาส่งโรงพยาบาล ถ้าผู้ป่วยอาเจียน ให้จัดศีรษะท่า เพื่อป้องกันการสาลักน้ามันเข้าปอด
ผู้ที่ได้รับ ยาแก้ปวด ลดไข้
อาการและอากการแสดง
หูอื้อ เหมือนมีเสียงกระดิ่งในในหู การได้ยินลดลง เหงื่อออกมาก ปลายมือปลายเท้าแดง ชีพจรเร็ว คลื่นไส้อาเจียน หายใจเร็ว ใจสั่น
ทาให้สารพิษเจือจาง
ทาให้อาเจียน
ให้สารดูดซับสารพิษ ที่อาจหลงเหลือในระบบทางเดินอาหาร
ผู้ที่ได้รับสารพิษทางการหายใจ
การพยาบาล
กลั้นหายใจและรีบเปิดประตูหน้าต่าง ๆ เพื่อให้อากาศถ่ายเท มีอากาศบริสุทธิ์เข้ามาในห้อง ปิดท่อก๊าซ หรือขจัดต้นเหตุของพิษนั้น ๆ
นำผู้ป่วย ออกจากบริเวณที่เกิดเหตุไปยังที่มีอากาศบริสุทธิ์
ประเมินการหายใจและการเต้นของหัวใจ ถ้าไม่มีให้ผายปอดและนวดหัวใจ นาส่งโรงพยาบาล
ก๊าซที่ทำให้ร่างกายขาดออกซิเจน เช่น คาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจน ไนโตรเจน
ก๊าซที่ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ก๊าซที่ทำให้อันตรายทั่วร่างกาย ได้แก่ ก๊าซอาร์ซีน
เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะทาให้เม็ดเลือดแดงแตก ปัสสาวะเป็นเลือด ดีซ่าน ตาเหลือง ตัวเหลือง
สารเคมีถูกผิวหนัง
ล้างด้วยน้ำสะอาดนาน ๆ อย่างน้อย ๑๕ นาที
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี เพราะความร้อนที่เกิดจากปฏิกิริยาอาจทาให้เกิดอันตรายมากขึ้น
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ปิดแผล แล้วนาส่งโรงพยาบาล
สารเคมีเข้าตา
ล้างตาด้วยน้านาน ๑๕ นาที่ โดยการ เปิดน้าก๊อกไหลรินค่อย ๆ
อย่าใช้ยาแก้พิษทางเคมี เพราะความร้อนที่เกิดจากปฏิกิริยาอาจทาให้เกิดอันตรายมากขึ้น
บรรเทาอาการปวดและรักษาช็อค
ปิดตา แล้วนาส่งโรงพยาบาล
บาดแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก (Burns)
สาเหตุ :star:
ความร้อน น้ำร้อน วตถุร้อน กระแสไฟฟ้า สารเคมี รังสี การเสียดสีอย่างรุนแรง
อาการ : :star:
แผลขนาด 1 ฝ่ามือของผู้ป่วย เท่ากับ 1% ของผิวหนังทั่วร่างกาย
บาดแผลที่มีขนาดใหญ่ อาจทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำ โปรตีน และเกลือแร่ ถึงกับเกิดภาวะช็อกได้ และอาจมีโอกาสติดเชื้อ
ตำแหน่งของแผล
ที่ข้อมือ ข้อพับ
เกิดการดึงรั้ง เหยียดออกไม่ได้
ที่ใบหน้า
เกิดรอยแผลเป็น
แบ่งเป็น 3 ระดับ :star:
ระดับที่ 1 (First degree burn)
คือ บาดแผลที่มีการทาลายของเซลล์หนังกาพร้าชั้นผิวนอกเท่านั้น
หายหายเร็วและสนิท ไม่เกิดรอยแผลเป็น
ยกเว้นคนที่มีการติดเชื้ออักเสบ
หนังกาพร้าชั้นในยังไม่ถูกทำลาย เจริญขึ้นมาแทนที่ส่วนผิวนอกได้
ระดับที่ 2 (Second degree burn)
ชนิดตื้น (Superficial partial-thickness burns)
คือ บาดแผลที่มีการทำลายของหนังกาพร้าทั้งชั้นผิวนอกและชั้นในสุด และหนังแท้ส่วนที่อยู่ตื้นๆ ใต้หนังกาพร้า
เซลล์ที่สามารถเจริญขึ้นมาทดแทนส่วนที่ตายได้ จึงหายได้เร็วภายใน 2-3 สัปดาห์ และมักไม่ทาให้เกิดแผลเป็น
พุพองเป็นตุ่มน้าใส ผิวหนังอาจหลุดลอกออกเห็นเป็นเนื้อสีชมพูหรือสีแดง ๆ มีน้ำเหลืองซึม
ปวดแสบปวดร้อนมาก เพราะเส้นประสาทบริเวณผิวหนังยังเหลืออยู่ไม่ได้ถูกทาลายไปมาก
อาจทำให้สูญเสียน้า โปรตีน และเกลือแร่ และติดเชื้อได้ง่าย
ชนิดลึก (Deep partial-thickness burns)
คือ บาดแผลที่มuการทาลายของหนังแท้ส่วนลึก
ไม่ค่อยมีตุ่มพอง แผลเป็นสีเหลืองขาว แห้ง และไม่ค่อยปวด บาดแผลชนิดนี้มีโอกาสทำให้เกิดแผลเป็นได้แต่ไม่มาก
มักจะหายได้ภายใน 3-6 สัปดาห์ ซึ่งการใช้ยาปฏิชีวนะเฉพาะที่จะช่วยทาให้แผลไม่เกิดการติดเชื้อได้
ระดับที่ 3 (Third degree burn)
คือ บาดแผลที่มีการทำลายของหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด รวมทั้งต่อมเหงื่อ ขุมขน และเซลล์ประสาท และอาจกินลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อหรือกระดูก
ไม่เจ็บปวดที่บาดแผลเพราะเส้นประสาทที่อยู่บริเวณผิวหนังแท้ถูกทำลาย (Hypertrophic scar or keloid)
ถ้ารักษาไม่ดีอาจเกิดแผลหดรั้งทำให้ข้อยึดติด
การพยาบาล
1.ให้ล้างแผลหรือแช่แผลด้วยน้าสะอาดแล้วใช้ผ้าก๊อซหรือผ้าแห้งสะอาดปิดแผลไว้
2.แผลที่เป็นตุ่มน้าใส ไม่ควรเอาเข็มไปเจาะเพื่อระบายเอาน้ำออก เพราะเข็มที่ใช้อาจไม่สะอาดอาจทำให้ติดเชื้อบาดทะยักหรือเกิดแผลอักเสบได้
3.ถ้าบาดแผลเกิดมีขนาดกว้างควรรีบส่งโรงพยาบาลทันที
กว้างประมาณ 10-15% อาจทำให้กิดภาวะช็อกได้
เกิดบาดแผลที่บริเวณใบหน้า (รวมทั้งปากและจมูก)อาจทำให้หายใจได้ลำบาก ควรรีบนาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลทันที
การรักษา :star:
ยาปฏิชีวนะทาเฉพาะที่ (Topical antibiotic)
1% ซิลเวอร์ซัลฟาไดอะซีน
เพราะมีฤทธิ์กว้าง
Ringer's lactate
ภาวะขาดน้ำและช็อก ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลกว้าง
ภาวะแทรกซ้อนในระยะ 2-3 วันแรก
การติดเชื้อ
หลังจากมีบาดแผล 2-3 วันไปแล้ว
บาดแผลรุนแรง
บาดแผลระดับที่ 2 ที่มีขนาดมากกว่า 30%
และบาดแผลระดับที่ 3 ที่มีขนาดมากกว่า 10%
แนะนำให้ใส่ผ้ายืดเพื่อป้องกันการเกิดแผลเป็นนูนหนา
แผลที่หายหลังจากการทาผ่าตัดปลูกถ่ายผิวหนัง (Skin graft)
แผลที่หายโดยใช้เวลามากกว่า 3 อาทิตย์
กระดูกหัก(Bone fracture)
แบ่งตาม
บาดแผล
Closed fracture
มีอาการกระดูกหักแต่ไม่โผล่ออกมานอกผิวหนัง
Open fracture
มีบาดแผลลึกถึงกระดูก หรือกระดูกที่หักอาจทิ่มแทงทะลุออกมานอกเนื้อ
อาจทำให้ตกเลือดรุนแรง เส้นประสาทถูกทาลาย ติดเชื้อได้ง่าย ทำให้สูญเสียแขนขาได้
รอยที่มีการหักของกระดูก
กระดูกหักทั่วไป (Simple fracture)
คือ กระดูกที่แตกออกเป็น 2 ชิ้น
กระดูกหักยุบเข้าหากัน (Impacted fracture)
คือ ภาวะที่กระดูกทั้ง 2 ด้านได้รับแรงกด ส่งผลให้กระดูกแตกทั้ง 2 ด้าน เด็กเล็กมักเกิดกระดูกหักฝังที่แขน
กระดูกเดาะ (Greenstick fracture)
คือ กระดูกที่แตกเพียงด้านเดียว ส่วนกระดูกอีกด้านโก่งไปตามแรงกดที่ปะทะเข้ามา มักเกิดขึ้นกับเด็ก เพราะกระดูกของเด็กมีความยืดหยุ่นมากกว่าผู้ใหญ่
การปฐมพยาบาล
ประเมินบริเวณที่บาดเจ็บ
ทาการปฐมพยาบาลด้วยวิธีซีพีอาร์ (CPR)
ถ้ามีเลือดออกให้ทำการห้ามเลือดก่อนเสมอไม่ว่ากระดูก จะหักหรือไม่
ถ้าบาดแผลใหญ่หรือเลือดยังไม่หยุดไหลหรือไหลรุนแรง ให้หาสายรัด มาผูกรัดเหนือบาดแผลให้แน่น ๆ
คลายสายรัดทุก ๆ 15 นาที โดยคลายนานครั้งละประมาณ 30-60 วินาที
ถ้าเลือดยังไม่หยุดไหลก็ให้รัดกระชับเข้าไปใหม่
ดามกระดูกที่หัก
ใช้แผ่นไม้ พลาสติกแข็ง ไม้บรรทัด กิ่งไม้ ท่อนไม้ ท่อนโลหะ
ให้ปลายทั้ง 2 ข้างครอบคลุมถึงข้อที่อยู่เหนือและใต้ส่วนที่หัก
ควรมีสิ่งนุ่ม ๆ รองรับผิวหนังของอวัยวะส่วนนั้นอยู่เสมอแล้วรัดทั้งหมดเข้าด้วยกัน
คำแนะนำ
บริเวณที่ดามเฝือก
ห้ามดึงข้อหรืือจัดกระดูกให้เข้าที่ด้วยตัวเอง
ถ้าหักที่แขนหรือมือให้ใช้ผ้าคล้องคอ
ถ้าหักที่นิ้วให้ใช้ไม้ไอศครีมดาม
ประคบน้ำแข็งตรงบาดแผล
ควรประคบทันทีและหาผ้าบางๆมาพันรอบของที่เย็นเพื่อป้องกันน้ำแข็งกัด
ประคบไว้นานประมาณ 20 นาทีหรือจนกว่าบริเวณนั้นจะรู้สึกชา
ขณะประคบยกช่วงกระดูกที่หักให้สูงขึ้นด้วยเพื่อช่วยลดอาการบวมและชะลอการไหลของเลือด
ข้อดี
จะช่วยลดอาการปวด ลดอาการบวมอักเสบ และลดการไหลของเลือด
คำแนะนำ
ไม่ควรให้เคลื่อนไหวเมื่อมีการหักที่
ขาส่วนบน
กระดูกสันหลัง
ศีรษะและคอ
อุ้งเชิงกรานและสะโพก
ห้ามดื่มน้ำหรือรัปประทานอาหารเพราะอาจจะได้รับการผ่าตัด
หลังใส่เฝือกถ้ามีอาการนี้ให้ไปพบแพทย์
มิ้วมือ นิ้วเท้าข้างที่ใส่มีสีเขียว ซีด บวม ชา รู้สึกซ่าๆ
ปวดแสบปวดร้อน
ปวดมากรู้สึกคับเฝือก
บวมแดงบริเวณต่ำกว่าหรือขอบเฝือก
มีเลือด น้ำเหลือง หนองไหลซึมจากเฝือก หรือมีกลิ่นเหม็น
ขยับนิ้วมือ นิ้วเท้าข้างที่ใส่เฝือกไม่ได้
เฝือกคับ บุบสลาย หรือมีสิ่งแปลกปลอมเข้าไป
อ้างอิง : วิริยาภรณ์ แสนสมรส. (2563). บทที่4การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ. 27เม.ย. 63.
https://classroom.google.com/w/NzMzNjU4Njc4NDla/t/all
.
นางสาววิยะดา ลินลา 36/2 เลขที่27