Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Electronic fetal monitoring, นางสาวภูริชญา จักรพรรดิ์แก้ว 601101067 -…
Electronic fetal monitoring
Non Stress Test (NST)
วิธีการตรวจ
1.จัดท่า semi-Fowler's position
3.ติดเครื่อง EFM โดยติดหัว tocodynameter เพื่อบินทึกการหดรัดตัวของมดลูกไว้ที่ตำแหน่งยอดมดลูกและหัวตรวจ FHR ไว้ที่ตำแหน่งหลังของทารกที่ได้ยิน FHS ชัดที่สุด
4.บันทึกนาน 20 นาที ถ้ายังแปลผลไม่ได้ให้บันทึกผลต่ออีก 20 นาที เป็น 40 นาที
2.record v/s
การแปลผล
1.Reactive หมายถึง มี baseline FHR 120-160 bpm และ baseline variability 5-2 ครั้ง/นาที และมี acceleration อย่างน้อย 2 ครั้งใน 20 นาที ถ้าไม่ครบตาม criteria ให้กระตุ้นทารกแล้วทำซ้ำอีก 20 นาที เพื่อเลี่ยง false non-reactive NST
2.Non-reactive ไม่พบ acceleration หรือพบแต่ไม่ครบตามเกณฑ์วินิจฉัย reactive NST แสดงว่าทารกอาจอยู่ในภาวะไม่ปกติ แนะนำให้ทำการตรวจที่จำเพาะต่อไป เช่น CST,BPP
ดูการตอบสนองของอัตราการเต้นของหัวใจทารกเมื่อทารกเคลื่อนไหวขณะท่ีสตรีตั้งครรภ์อยู่ในระยะพักและไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก
Contraction Stress Test (CST)
การตรวจด้วย CST จะทำในรายที่เป็น nonreactive NST โดยวิธีการทำต้องมีการหดรัดตัวของมดลูกร่วมด้วย ถ้าไม่มีต้องชักนำให้เกิด ซึ่งมีวิธีการชักนำอยู่ 2 วิธี คือ การกระตุ้นด้วย oxytocin หรือ nipple stimulation
การกระตุ้นหัวนม (nipple stimulation test)
ให้สตรีตั้งครรภ์ใช้นิ้วมือถูคลึงกลับไปกลับมาที่หัวนมข้างเดียวโดยถูนอกเสื้อค่อนข้างเร็วแต่เบาๆ เป็นเวลา 2 นาทีแล้วหยุด 5 นาทีระหว่างที่หยุดให้ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกถ้ายังไมไ่ด้ตามที่ต้องการให้เริ่มทำรอบท่ี2
Oxytocin (OCT = Oxytocin Challenge Test)
โดยให้ทางหลอดเลือดดำในอัตรา 0.5 มิลลิยูนิต/นาที และเพิ่มอัตราขึ้น ช้าๆ จนมีการหดรัดตัวของมดลูก 3 ครั้งใน 10 นาที แต่ละครั้งนาน 40-60 วินาที
การแปลผล
ผล Negative หมายถึง ไม่มี deceleration ในขณะทำการทดสอบ โดยมีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างน้อย 3 ครั้งใน 10 นาที นานครั้งละอย่างน้อย 40-60 วินาที
ผล Positive หมายถึง มี Late deceleration มากกว่าครึ่งหนึ่งของการทดสอบที่มีการหดรัดตัวของมดลูก
ข้อห้ามในการทำ CST
Preterm labor หรือมีความเสี่ยงสูงในการเกิด preterm labor.
Preterm premature rupture of membrane
มีประวัติผ่าตัดมดลูกหรือ classic cesarean delivery.
Placenta previa
Polyhydramnios เป็นต้น
Multiple gestation
วิธีการตรวจ
จัดท่า semi-Fowler หรือ ท่านอนตะแคงซ้าย จะดีกว่าท่านอนหงายซึ่งมักทำให้เกิด supine hypotension มีผลต่อการแปลผล NST
วัดความดันโลหิต
ติดเครื่อง electronic fetal monitoring โดยติดหัวตรวจ tocodynamometer เพื่อบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก ไว้ที่ตำแหน่งยอดมดลูก และหัวตรวจ FHR ไว้ที่ตำแหน่งหลังของทารกที่ได้ยินเสียงการเต้นของหัวใจชัดที่สุด
บันทึกรูปแบบการเต้นของหัวใจ ระหว่างที่มีการหดรัดตัวของมดลูก ซึ่งควรมี 3 ครั้งใน 10 นาที นานครั้งละ 40-60 วินาที ถ้าไม่มีให้ชักนำด้วยวิธีการกระตุ้นหัวนม (nipple stimulation test) หรือ Oxytocin (OCT = Oxytocin Challenge Test)
late deceleration ของ FHR ทุกครั้งที่มีการหดรัดตัวของมดลูก ถึงแม้จะยังไม่ถึง 20 นาที หรือไม่ถึงเกณฑ์การหดรัดตัวที่น่าพอใจก็ให้หยุดทดสอบได้
หลังหยุดสังเกตการหดรัดตัวของมดลูก จนหายไป
ข้อเสียของการทำ CST
ใช้เวลานาน บางรายอาจใช้เวลา 90-120 นาที
การแปลผลยังไม่ชัดเจนต้องอาศัยการวินิจฉัยอย่างอื่นร่วม
ยุ่งยาก หญิงตั้งครรภ์เจ็บตัว
EFM เป็นเครื่องมือทาง Electronic ที่นำมาใช้เพื่อตรวจดูสุขภาพของทารกในครรภ์ สามารถใช้ได้ในระยะก่อนเจ็บครรภ์และระยะเจ็บครรภ์ โดยใช้หลักการเปลี่ยนแปลง FHR ในครรภ์ในขณะปกติ ขณะเด็กดิ้นหรือขณะที่มดลูกหดตัว แล้วบันทึกลงบนกระดาษกราฟเหมือน EKG ของผู้ใหญ่
ชนิด
Cadiotachometer เป็นส่วนที่วางอยู่บนหน้าท้องบริเวณหัวใจทารกเพื่อประเมินการเต้นของหัวใจและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูก
Tocodynamometer / tacometer เป็นที่วางอยู่บนหน้าท้องมารดาบริเวณยอดมดลูกเพื่อประเมินความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูก
ลักษณะอัตราการเต้นของหัวใจทารก
1.Fetal Heart Rate(FHR) base line คือ อัตราเฉลี่ยของอัตราการเต้นของหัวใจทารกในภาวะปกติ
Normal FHR baseline อยู่ระหว่าง 110 - 160 ครั้ง /นาที
Tachycardia > 160 ครั้ง/นาที
Bradycardia < 110 ครั้ง /นาที
2.Variability คือ อัตราเฉลี่ยของอัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มี การเปลี่ยนแปลงอย่างไม่สม่ำเสมอในลักษณะของการแกว่งข้ึนลง (amplitude)
Absent variability คือม่มีความแปรปรวนของ FHR สัมพันธ์กับภาวะ asphyxia ของทารกในครรภ์สูง
Minimal variability คือ เห็นความแปรปรวนของ FHR ได้แต่มี ขนาดน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5bpm สัมพันธ์กับภาวะ acidosis
Moderate (normal) variability คือ ช่วงขนาดของความแปรปรวนอยู่ระหว่าง 6-25bpm มักพบในทารกปกติ
Marked variability คือ ความแปรปรวนของ FHR > 25 bpm สัมพันธ์กับการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ และยังเป็นการตอบสนอง ต่อภาวะขาดออกซิเจน
3.Acceleration คือการเพิ่มข้ึนของอัตราการเต้นของหัวใจทารก อย่างฉับพลันท่ีเพิ่มสูงข้ึนจาก baseline อย่างน้อยที่สุด 15bpm คงอยู่นาน 15 วินาที ภายในระยะเวลาไม่เกิน 30 วินาที บ่งชี้ว่าการทำงานของระบบประสาทและหัวใจของทารกเป็นปกติดีอยู่
ในรายที่อายคุรรภ์ < 32 wk เกณฑ์การวินิจฉัยลดลงเป็นเพิ่มข้ึน 10 bpm นานกว่า10วนิาที
4.Deceleration คือการลดลงของ FHR จาก Baseline FHRอย่างน้อยที่สุด 15 bpm และคงอยู่อย่างน้อย 15 วินาทีแล้วกลับคืนสู่ baseline เดิมเป็นการลดลงชั่วคราว
Early deceleration อัตราการเต้นของหัวใจทารกจะค่อยๆ ลดลง และเพิ่มข้ึนอย่างช้าๆ ตามการหดรัดตัวของมดลูกช่วงที่อัตราการเต้นของหัวใจลดต่ำลงที่สุดจะเกิดข้ึนพร้อมกับการหดรัดตัวของมดลูก
Late deceleration อัตราการเต้นของหัวใจเริ่มลดลงพร้อม
หรือหลังการหดรัดตัวของมดลูกที่สูงที่สุดและกลับสู่ baseline เมื่อสิ้นสุดการหดรัดตัวของมดลูก
Variable deceleration เป็นการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจทารกอย่างรวดเร็ว ทั้งเพิ่มขึ้นและลดลง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนไม่มีความสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
การแปลผล External fetal monitoring
1.Category I : บ่งบอกว่ามีโอกาสที่ทารกจะมีภาวะเลือดเป็นกรดน้อยมาก ในช่วงระยะเวลานั้น แต่ไม่สามารถบอกถึงอนาคตได้ จัดเป็น Category I
FHR baseline อยู่ระหว่าง 110 ถึง 160 bpm
ไม่พบลักษณะของ variable หรือ Late FHR deceleration
Moderate FHR variability (6 ถึง 25 bpm)
อายุครรภ์สัมพันธ์กับ FHR accerleration
Early deceleration : เนื่องจากศรีษะทารกถูกกดทำให้เกิด vagally effect โดย FHR ต่ำประมาณ 100 – 110 bpm
2.Category III: สัมพันธ์กับสภาวะเลือดเป็นกรดของทารกในครรภ์ในช่วงเวลานั้น ควรได้รับการประเมิน สาเหตุที่สามารถแก้ไขได้ และเพิ่มปริมาณเลือดและออกซิเจน ที่ไปเลี้ยงมดลูกและรก (uteroplacental perfusion) จัดเป็น Category III
Absent หรือ Minimal variability with deceleration หรือBradycardia : การที่ไม่มี variability บ่งบอกถึง ทารกในครรภ์มีภาวะสมองขาดอ็อกซิเจน (cerebral hypoxia) และบ่งบอกถึงการที่ทารกไม่สามารถ compensate ภาวะ Hypoxia แล้วตามด้วยความผิดปกติของ FHR Pattern ดังต่อไปนี้ บ่งบอกถึงความผิดปกติของ ภาวะ กรด และด่างในร่างกายทารก
Recurrent Late deceleration คือ ลักษณะของFHR tracing ที่มีลักษณะของ Late deceleration มากกว่า 50% ของ Contraction เกิดจาก reflex ของระบบประสาทส่วนกลางที่ตอบสนองต่อภาวะ Hypoxiaและ ภาวะเลือดเป็นกรด
Recurrent variable deceleration คือ เกิดขึ้นเมื่อสายสะดือของทารกถูกกด ในกรณีที่มีน้ำคร่ำ น้อย มีภาวะ nuchal cord , หรือ umbilical vein มีผนังบางทำให้ง่ายต่อการถูกกด ภาวะที่สายสะดือถูกกด
เป็นครั้งคราว ทารกสามารถทนต่อภาวะนี้ได้ แต่ถ้าถูกกดบ่อยขึ้นและนานขึ้นอาจกลายเป็น Metabolic acidosis ได้
Bradycardia : FHR น้อยกว่า 110 bpm และ ไม่มี variability อาจทำให้ tissue perfusion ไม่เพียงพอต่อ ทารก สาเหตุเกิดจาก ภาวะ Hypothermia , การได้รับยาบางอย่าง เช่น β adrenergic blocker
3.Category II : คือลักษณะที่ไม่เข้าเกณฑ์ ทั้ง CAT I และ CAT II
Intermittent Variable deceleration (< 50 % )
Recurrent variable deceleration
Recurrent late deceleration
Fetal tachycardia
Bradycardia
Prolong deceleration
Minimal variability
Tachysystole
FETAL ACOUSTIC STIMULATION TEST (FAST)
อาศัยหลักการเดียวกับการตรวจ NST แต่มีการกระตุ้นด้วย กล่องเสียงเทียม (artificial larynx) ซึ่งมีความถี่ 100 – 105 dB หรือ 1000 – 2000 Hz เพื่อลดระยะเวลาในการตรวจ NST ให้สั้นลง ซึ่งวิธีนี้จะทำให้ FHR baseline เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 10 bpm ใน 10 วินาที อาจนานถึง 5-10 นาที ซึ่งจะช่วยทำให้ทารกที่อยู่ในระยะหลับ มีการตอบสนองส่งผลให้ผลตรวจ NST ดีขึ้นได้
วิธีการตรวจ
เตรียมการตรวจเหมือน NST
กระตุ้นด้วยกล่องเสียงเทียม (artificial larynx) โดยวางบนหน้าท้องหรือใกล้หน้าท้องมารดา (ไม่เกิน 30 เซนติเมตร) กระตุ้นครั้งละ 1 – 3 วินาที ซ้ำได้ไม่เกิน 3 ครั้ง
บันทึกรูปแบบการเต้นของหัวใจโดย electronic fetal monitoring นาน 20-40 นาที
การแปลผล
ให้แปลผลจาก NST ถ้ามี acceleration ตามเกณฑ์ reactive ของ NST ถือว่าปกติ ถ้า nonreactive ให้ดูแลเหมือนรายที่ตรวจด้วย NST คือทำ การตรวจยืนยันด้วยวิธีอื่นต่อไป
นางสาวภูริชญา จักรพรรดิ์แก้ว 601101067