Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา - Coggle Diagram
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายใน
คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในทุกระดับชั้น
พฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน
สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรของสถานศึกษา
คุณภาพการศึกษาด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา
การสัมภาษณ์
การตรวจสอบจากเอกสารหรือข้อมูลเชิงประจักษ์
สังเกต
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน
การส่งเสริมและพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
ระดับสำนักงานพื้นที่การศึกษา
ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนำสถานศึกษา เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ติดตามผลการดำเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR) พร้อมกับประเด็นที่ต้องการให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบ
ให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) ในการจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากสำนักงาน
ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตลอดจนให้คำปรึกษา ช่วยเหลือและแนะนำสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตรับฟังหรือให้ข้อมูลเพิ่มเติมในการประเมินคุณภาพภายนอกด้วยก็ได้
ระดับสถานศึกษา
จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
เพื่อเป็นกลไกในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR)
จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจากรายงานผลการประเมินตนเองและตามคำแนะนาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
วิเคราะห์ และสรุปผล ตามข้อเสนอแนะของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
กำหนดนโยบายด้านการศึกษา กำหนดมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการประกันคุณภาพการศึกษา
ให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) ในการจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากสำนักงาน
แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เป็นระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ต้องดำเนินการให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาอย่างต่อเนื่อง กระทำโดยบุคลากรในหน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ถือเป็นกระบวนการตรวจสอบการทำงานของตนเอง (Self-evaluation)
หลักการสำคัญของการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
การที่จะดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายตามข้อ 1) ต้องทำให้การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารจัดการและการทำงานของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายในเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา
จุดมุ่งหมายของการประเมินคุณภาพภายในคือ การที่สถานศึกษาร่วมกันพัฒนาปรับปรุงคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายใน
เพื่อนำผลการประเมินคุณภาพภายในมาใช้เป็นข้อมูลประกอบในการตัดสินใจวางแผนพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา
เพื่อพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เพื่อตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและมาตรฐานสถานศึกษา
เพื่อนำข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปจัดทำรายงานประจำปี
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษากับ
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
ระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์
จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ
จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน
ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น
มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข
จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย
จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ
ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็ก
ไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้
มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษากับการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ
มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
ขั้นตอนและแนวทางการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นการดำเนินงาน
การดำเนินการตามแผน (D)
ศึกษามาตรฐานการศึกษา ตัวบ่งชี้ ผู้บริหารควรให้การส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรทำงานอย่างมีความสุข
การตรวจสอบผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา (C)
สร้างเครื่องมือการประเมินตามมาตรฐานการศึกษา กำหนดเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานการศึกษา ดำเนินการตรวจสอบการดำเนินงานและสรุปผลการตรวจสอบ
การวางแผนการปฏิบัติงาน (P)
จะต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมายของการประเมินให้ชัดเจน รวมไปถึงการวางแผนผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน ระยะเวลาและทรัพยากรที่ต้องใช้สำหรับการจัดทำแผนของสถานศึกษา
การนำผลการประเมินคุณภาพภายในมาปรับปรุง (A)
นำผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษามาวิเคราะห์วางแผนการแก้ไขปรับปรุง
ขั้นการจัดทำรายงานผลการประเมิน
เมื่อสถานศึกษาดำเนินการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาเสร็จแล้ว จะจัดทำรายงาน
การประเมินคุณภาพภายใน พร้อมสรุปจุดแข็งและจุดที่ควรพัฒนาของสถานศึกษา ให้หน่วยงานต้นสังกัด
ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณชนทราบ
ขั้นการเตรียมการ
การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทุกคน
ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายในประเด็นที่สำคัญ ๆ ทุกคนต้องร่วมมือกันทำอย่างต่อเนื่อง สร้างความตระหนักถึงคุณค่าของการประเมินคุณภาพภายใน
การแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานด้านการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
รับผิดชอบในการประสานงาน กำกับดูแลช่วยเหลือ สนับสนุนให้ทุกฝ่ายทำร่วมกันเป็นทีม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษากับ
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและ ทุกกลุ่มเป้าหมาย
พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียน
มีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ที่แสดงออกถึงความรู้ความสามารถทักษะ ตามที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว
มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อหรือการส่งต่อเข้าสู่การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น หรือการอาชีพหรือการดาเนินชีวิตในสังคมได้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด
มีความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย ตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล
แนวทางการประเมินคุณภาพภายใน
การประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา โดยมีเครื่องมือการประเมินตามมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพ
นำผลการประเมินไปใช้และพัฒนา สำหรับมาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่อยู่ในระดับปรับปรุงจะต้องนำมาแก้ไขปรับปรุงตามระยะเวลาที่เหมาะสม
การรายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
สถานศึกษาสรุปผลการประเมินและเขียนรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนำไปวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป
การปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
สถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่เกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพของสถานศึกษาทีพึงประสงค์ เป็นการส่งเสริม กำกับดูแล ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การสรุปและรายงานการประเมินคุณภาพภายใน
วัตถุประสงค์ของการรายงาน
เพื่อให้สถานศึกษาน าผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและให้การสนับสนุนรวมทั้งมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป
เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษาได้ทราบถึงสภาพการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
สาระสำคัญที่ควรปรากฏในรายงาน
วิธีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
สาระสำคัญของการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา