Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2521 และแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ…
พรบ.การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2521 และแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ.ศ. 2556
หมวดที่ 2 การส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
มาตรา 11
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี แต่ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สังกัด สพฐ. เป็นเลขานุการของคณะกรรมการ
ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า "คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ" จำนวน 26 คน มีรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธานกรรมการ
สถานศึกษาเฉพาะความพิการของรัฐ มีฐานะเป็นนิติบุคคล มีหน้าที่จัดการศึกษาตามภาระกิจแก่คนพิการ
คำจำกัดความ
ครูการศึกษาพิเศษ หมายถึง ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษสูงกว่าปริญญาตรีขึ้นไป หรือมีวุฒิครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษระดับปริญญาตรีผ่านการประเมินทักษะการสอนคนพิการ ตามที่คณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการกำหนด
การเรียนร่วม หมายถึง การจัดให้คนพิการได้เข้าศึกษาในระบบการศึกษาทั่วไปทุกระดับและหลากหลายรูปแบบ
แผนการสอนเฉพาะบุคคล(IP) หมายถึง แผนการสอนจัดขึ้นเฉพาะเจาะจงสำหรับนักเรียนคนนั้นเพื่อช่วยให้นักเรียนบรรลุจุดประสงค์และ เป้าหมายที่กำหนดไว้ใน IEP M
สถานศึกษเฉพาะความพิการ หมายถึง สถานศึกษาของรัฐหรือเอกชนที่จัดการศึกษาสำหรับคนพิการโดยเฉพาะ ทั้งลักษณะอยู่ประจำและไปกลับและรับกลับบ้าน
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP) หมายถึง แผนซึ่งกำหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษของคนพิการ
ศูนย์การศึกษาพิเศษ หมายถึง สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษานอกระบบหรือตามอัธยาศัยแก่คนพิการ ตั้งแต่แรกเกิดหรือแรกพบความพิการจนตลอดชีวิต
ผู้ดูแลคนพิการ หมายถึง บิดา มารดา ผู้ปกครอง บุตร สามี ภรรยา ญาติ พี่น้องหรือบุคคลอื่นใดที่รับดูแลหรือรับอุปการะคนพิการ
ศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ หมายถึง สถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบหรือตามอัธยาศัยแก่ตนพิการโดยเฉพาะโดยหน่วยงานการศึกษานอกโรงเรียน ฯลฯ เป็นผู้จัด ตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษาและหลักสูตรระยะสั้น
ความหมายคนพิการ หมายถึง บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม
องค์การคนพิการแต่ละปรเะเภท หมายถึง องค์กรสมาชิกระดับชาติตามประเภทความพิการที่ได้แจ้งชื่อไว้กับสำนักงานส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ
ประเด็นสำคัญเพิ่มเติมเกี่ยวกับคนพิการ 9 ประเภท
บกพร่องทางพฤติกรรม
พฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากปกติหรืออารมณ์มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากปกติ เช่น โรคจิตประเภทซึมเศร้า
ออทิสติก
ระบบสมองทำงานผิดปกติส่งผลต่อพัฒนาการด้านภาษา สังคม มีความจำกัดสนใจเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยความผิดปกตินั้นค้นไบได้ก่อนอายุ 30 เดือน
บกพร่องทางการพูด
เสียงผิดปกติอัตราความเร็วและจังหวะการพูดผิดปกติภาษาและภาษาหรือบกพร่องในเรื่องความ เข้าใจหรือการใช้ภาษาพูด
พิการซ้อน
พิการมากกว่า 1 ด้านในบุคคลเดียวกัน
บกพร่องทางการเรียนรู้
มีความผิดปกติในการทำงานของสมองบางส่วน เช่น การอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ
บกพร่องทางร่างกายการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ
บกพร่องทางร่างกายและการเคลื่อนไหว บกพร่องทางสุุขภาพ
บกพร่องทางสติปัญญา
ความสามารถทางสติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยอย่างน้อย 2 ทักษะจาก 10 ทักษะและแสดงอาการดังกล่าวก่อนอายุ 18 ปี
บกพร่องทางการได้ยิน
คนหูหนวกสูญเสียการได้ยิน 90 เดซิเบลขึ้นไป หูตึงสูญเสียการได้ยินน้อยกว่า 90-26 เดซิเบล
บกพร่องทางการมองเห็น
คนตาบอด สูญเสียการมองเห็นมาก ต้องใช้สื่อสัมผัสและเสียง เมื่อตรวจวัดของสายตาข้างดีเมื่อแก้ไขแล้วจะอยู่ในระดับ6/60 ส่วนหรือ20/200 ส่วนจนไม่สามารถรับรู้แสง
คนเห็นเลือนลาง สูญเสียการมองเห็นแต่ยังสามารถอ่านอักษรตัวพิมพ์ขยายใหญ่ได้ 6/18 ส่วน หรือ20/70 ส่วนได้
หมวดที่ 1 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา 6
ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับเงินพิเศษเพิ่มเติมจากการปฏิบัติหน้าที่สอนคนพิการ(พ.ค.ก.) 2,500 บาทต่อเดือน
โรงเรียนในทุกสังกัดจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
มาตรา 7
ให้สถานศึกษาของรัฐและเอกชนที่จัดการเรียนร่วมสำหรับคนพิการเฉพาะ ศูนย์การเรียนเฉพาะคนพิการได้รับเงินอุดหนุนและความช่วยเหลือพิเศษจากรัฐ
หลักเกณฑ์และวิธีการในการรับเงินอุดหนุน ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา 5 สิทธิทางการศึกษาคนพิการ
ได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการจนตลอดชีวิต
ได้รับการศึกษาที่มีมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา การจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การทดสอบทางการศึกษาที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษของคนพิการแต่ละประเภทและบุคคล
เลือกบริการทางการศึกษา สถานศึกษา ระบบและรูปแบบการศึกษาตามความสามารถ ความสนใจ ความถนัดและความต้องการจำเป็นพิเศษของบุคคลนั้น
มาตรา 8
ให้สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP) และต้องมีการปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
สถานศึกษาใดปฏิเสธไม่รับคนพิการเข้ารับการศึกษา ให้ถือเป็นการเลือกปฏิบัติไม่เป็นธรรมตามกฎหมาย
หมวดที่ 3 กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสำหรับคนพิการ
มาตรา 22
ให้มีคณะกรรมการกองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสำหรับคนพิการ
มาตรา 24
การรับเงิน จ่ายเงิน เก็บรักษาเงินและการตัดหนี้เป็นสูญ ให้เป็นไปตามระเบียบของคณะกรรมการโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
มาตรา 21
จัดตั้งกองทุน "กองทุนส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาสำหรับคนพิการ" ในสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา 25
คณะกรรมการบริหารกองทุน จัดทำงบการเงินส่งผู้ตรวจสอบบัญชีภายใน 90 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี
ให้สำนักงานตรวจเงินบัญชีเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีของกองทุนทุกรอบปี และรายงานผลต่อคณะกรรมการ