Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปวิชาวิจัย บทที่ 5 กับ 10, นางสาวยุวณัฐฎา ขวัญคม รหัสนักศึกษา…
สรุปวิชาวิจัย บทที่ 5 กับ 10
บทที่ 5 การออกแบบการวิจัย
จุดมุ่งหมาย
เพื่อให้ได้การวัดตัวแปรที่ถูกต้อง
เพื่อการดำเนินการวิจัยที่เป็นระบบ
เพื่อควบคุมความแปรปรวนของตัวแปร
เพื่อความประหยัด คือ การวางแผนการใช้งบประมาณ
เพื่อให้ได้คำตอบของปัญหาการวิจัยที่ถูกต้อง
หลักการออกแบบการวิจัย
ความตรง
1.2 ความตรงภายใน
เหตุการณ์พ้องที่เกิดระหว่างการดำเนินการวิจัย
การสูญหายของกลุ่มตัวอย่าง เช่น การขอถอนตัวจากกลุ่มตัวอย่าง
การทดสอบกลุ่มตัวอย่างเดิมซ้ำๆ
การตอบสนองของกลุ่มตัวอย่าง
1.3 ความตรงภายนอก
ความเที่ยงตรงเชิงประชากร คือ ผลกาวิจัยจะสามารถนำไปใช้กับประชากรได้ดี หรือได้มากน้อยเพียงใด
ความเที่ยงตรงเชิงสภาพการณ์ คือ ผลการวิจัยจะสามารถนำไปใช้กับประชากรใดได้ดี และเมื่อใช้ในสถานการณ์ใดๆ ณ เวลาที่แตกต่างกัน จะก่อให้เกิดข้อจำกัดใด
1.1 ความตรงจากวิธีการทางสถิติ
การใช้สถิติที่ไม่ตรงตามเงื่อนไขของสถิติ
ความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 ที่เพิ่มขึ้นจากการวิเคราะห์ข้อมูลหลายรอ
การใช้สถิติที่มีอำนาจต่ำทดสอบ
1.4 ความตรงตามโครงสร้าง
คำนิยามเชิงปฏิบัติการ
การใช้เคื่องมือในการวัดมากกว่า 1 ชนิด
การแปลและสรุปเนื้อหาของเเนวคิดหรือทฤษฎีที่ไม่ถูกต้อง
การใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
การควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน
2.2 ตัวแปรแทรกซ้อนภายในกลุ่มตัวอย่าง
2.3 ตัวแปรแทรกซ้อนจากผู้ทดลองและกลุ่มตัวอย่าง
2.1 ตัวแปรแทรกซ้อนที่เป็นปัจจัยภายนอก
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกแบบวิจัย
ระดับของการอธิบายความเป็นเหตุเป็นผล
การคำนึงถึงหลักการออกแบบการวิจัย
ความเป็นไปได้ในการวิจัย
ไม่ขัด่อหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
เลือกรูปแบบการวิจัยให้เหมาะสมกับปัญหาการวิจัย
ความหมาย
การวางรูปแบบการวิจัย กำหนดกิจกรรมและรายละเอียดของแผน การวิจัย เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบของคำถามการวิจัย หรือเพื่อทดสอบสมมติฐานการวิจัย โดยรูปแบบหรือประเภทของการวิจัยจะต้องเหมาะสมกับปัญหาวิจัยที่ศึกษา
ประเภทหรือรูปแบบของการวิจัย
แบ่งตามระยะเวลา
3.1 การวิจัยแบบตัดขวาง
3.2 การวิจัยแบบระยะยาว
แบ่งตามประโยชน์ของผลการวิจัยที่นำไปใช้
4.2 การวิจัยประยุกต์
4.3 การวิจัยและการพัฒนา
4.1 การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์
แบ่งตามลักษณะของการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.1 การวิจัยเชิงปริมาณ
2.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ
2.3 การวิจัยแบบผสานวิธี
แบ่งตามช่วงเวลาที่ศึกษาวิจัย
5.2 การวิจัยร่วมสมัย
5.3 การวิจัยเชิงอนาคต
5.1 การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
แบ่งตามโครงสร้างของงานวิจัย
1.2 การวิจัยแบบทดลอง
1.3 รูปแบบการวิจัยอื่นๆ
1.1 การวิจัยแบบไม่ทดลอง
เกณฑ์การออกแบบการวิจัย
การวางแผนแบบการวิจัย
3.การกำำหนดข้อมูล และเเหล่งข้อมูล
การกำหนดเครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลการวิจัย
การกำหนดปัญหาการวิจัย
ลักษณะของแบบการวิจัยที่ดี
ปราศจากความสับสน
สามารถควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้
ปราศจากความอคติ
การเลือกใช้สถิติที่ถูกต้องในการทดสอบสมมุติฐาน
การออกแบบการวิจัย
การออกแบบการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
การอกกแบบการวัดค่าตัวแปร
บทที่ 10 การเขียนโครงร่างและรายงานการวิจัย
การเขียนโครงร่างการวิจัย
วัตถุประสงค์
เพื่อนำเสนอต่อหน่วยงาน หรือองค์กรเพื่อขอทุนสนับสนุนในการทำวิจัย
นำเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อให้ช่วยปรับปรุงให้มีความชัดเจนและเหมาะยิ่งขึ้น
เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ ในโครงร่างการวิจัยนั้น
เพื่อเป็นแนวทางระหว่างผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย ดำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน
หลักการเขียนโครงร่างวิจัย
คำถาม
วัตถุประสงค์การวิจัย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
สมมติฐานการวิจัย
ชื่อเรื่องวิจัย
ขอบเขตการวิจัย
คำนิยามศัพท์ หรือคำจำกัดความในการวิจัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
กรอบแนวคิดการวิจัย
วิธีดำเนินการวิจัย
รายการอ้างอิง หรือบรรณานุกรม
งบประมาณ
แผนการดำเนินการวิจัย
ความหมาย คือ แบบแปลนที่เขียนขึ้นในการแสวงหาความรู้แสดงให้เห็นความสำคัญ และความเป็นไปได้ในการดำเนินการวิจัยให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายได้
การเขียนรายงานการวิจัย
2.1 ความหมาย คือ เอกสารที่รายงานการวิจัยในแต่ละขั้นตอน และสรุปผลการวิจัยที่ค้นพบซึ่งเรื่องที่นำมาเขียนต้องเป็นข้อเท็จจริง มีการค้นคว้าอย่างเป็นระบบเป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อนำไปเผยแพร่ให้ผู้อ่านได้ทราบรายละเอียดของการดำเนินการวิจัย
2.2 วัตถุประสงค์ของรายงานการวิจัย
2.2.1 เพื่อเสนอข้อเท็จจริง จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ
2.2.2 เพื่อพัฒนาความคิด ด้านการคิดริเริ่ม วิเคราะห์ และประมวลอย่างมีระบบเพื่อถ่ายทอดเป็นภาษาที่สละสลวย
2.2.3 เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ในการรวบรวมข้อมูลเป็นการหาความรู้ด้วยตนเอง
2.3 หลักการเขียนรายงานการวิจัย
ความถูกต้องของรูปแบบ
ความเหมาะสมด้านภาษา
ความถูกต้องตามคำสะกด
ความเรียบร้อยของงาน
ความถูกต้องและความทันสมัยของเนื้อหา
การมีจรรยาบรรณของนักวิจัย
6.1 มีความซื่อสัตย์และมีคุณธรรมทางวิชาการ
6.2 เคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของกลุ่มตัวอย่าง
6.3 นำผลการวิจัยไปใช้ในทางที่เหมาะสมและถูกต้อง
2.4 รูปแบบของรายงานการวิจัย
ส่วนต้น
1.2 กิตตอกรรมประกาศ
1.3 บทคัดย่อ
1.4 สารบัญ
1.5 บัญชีตาราง
1.1 ปกหน้า
1.6 บัญชีภาพประกอบ
ส่วนเนื้อเรื่อง
2.1 บทนำ
2.2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.3 วิธีการดำเนินงาน
2.4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
2.5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอเเนะ
ส่วนท้ายหรือส่วนอ้างอิง
3.2 ภาคผนวก
3.1 อ้างอิง
3.3 ประวัติผู้วิจัย
นางสาวยุวณัฐฎา ขวัญคม รหัสนักศึกษา 613101069