Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Spina bifida, กับกระดูกสันหลังส่วนก้น (lumbosacral), พยาธิสรรีวิทยา,…
Spina bifida
-
-
ขณะกระตุ้นทารกจะไม่มีปฏิกิริยาเปลี่ยนแปลงที่ใบหน้า และแขนขา และทารกส่วนใหญ่หน้าที่ของ anal และ bladder sphincter จะเสีย
ความหมาย
สไปนา ไบฟิดา (Spina bifida)
เป็นความผิดปกติที่มักเป็นมาแต่กำเนิด
ซึ่งเกิดขึ้นจากแนวโค้งของ vertebral arches
ทั้งสองด้านไม่เชื่อมต่อกันระหว่างการเจริญในครรภ์
พบบ่อยคือรอยต่อระหว่างกระดูกสันหลังส่วนเอว
การพยาบาล
การพยาบาล ระยะก่อนผ่าตัด
- อาจเกิดถุงแตก หรือติดเชื้อบริเวณรอยโรค
- ให้ถุงน้ำชุ่มชื่นเสมอ
ใช้ผ้าก๊อสชุบน้ําเกลือสะอาดปิดก้อนเอาไว้
ไม่ปิดพลาสเตอร์ที่บริเวณถุงน้ำ
- ตรวจสอบการติดเชื้อ หรือการระคายเคืองบริเวณถุงน้ำ
ถ้าพบผิดปกติรายงานแพทย์
- จัดให้นอนคว่ำหรือนอนตะแคง และไม่สวมเสื้อผ้า เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนหรือระคายเคือง
และการแตกของถุงน้ำ
- ประเมินสัญญาณชีพ
และอาการแสดงทางระบบประสาท เพื่อประเมินการติดเชื้อ
- มีโอกาสติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ หรือมีการอักเสบบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
- รักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย
- ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้องตามแผนการรักษา
- ดูแลให้ทารกได้รับการสวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว
(intermittent catheterilization)ตามแผนการรักษา
- ประเมินการตรวจการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะทางห้องปฏิบัติการ
- ใช้มือกดบริเวณกระเพาะปัสสาวะทุก 2-4 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการคั่งของปัสสาวะ
การพยาบาล ระยะหลังผ่าตัด
- มีโอกาสติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดได้ง่าย
จากการปนเปื้อนอุจจาระหรือปัสสาวะ
- จัดให้ทารกนอนตะแคงหรือคว่ำเพื่อป้องกันการปนเปื้อนแผลผ่าตัด
- สังเกตอาการแสดงการติดเชื้อที่บริเวณแผลผ่าตัด
เช่น แผลบวมแดง แผลแยก
- รักษาความสะอาดแผลผ่าตัดทุกครั้งที่มีการปนเปื้อน
- ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้องตามแผนการรักษา
- มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
เช่น ภาวะน้ำคั่ง ในกะโหลกศีรษะ
เยื่อหุ้มสองอักเสบ แผลกดทับ ข้อติดแข็ง
อัมพาต หรือความผิดปกติของสะโพก
หรือปอดอักเสบจากการไม่เคลื่อนไหว
- วัดรอบศีรษะทุกวัน เพื่อประเมินภาวะ hydrocephalus
- พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ และปอดอักเสบ
-
-
- สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนดังต่อไปนี้
- ทำการบริหารแขนและขา (passive range of motion) อย่างนุ่มนวล ป้องกันข้อติดแข็ง
- ประเมินสัญญาณชีพ และอาการทางระบบประสาททุก 2-4 ชั่วโมง
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจากพันธุ์กรรม
การขาดออกซิเจน การได้รับสารเคมี
หรือรังสีต่างๆ การขาดสารอาหารในมารดา
หรือการติดเชื้อต่างๆ
- Myelomeningocele พบเป็นก้อนอยู่ที่บริเวณกลางหลัง ประกอบด้วยถุงน้ำหล่อสมองไขสันหลัง ไขสันหลังและรากประสาท
ทารกรายที่มีความผิดปกติรุนแรง จะเห็น neural placode (Plaque) โผล่ออกมาโดยไม่มี dura และผิวหนังปกคลุม กรณีนี้มักจะมีอาการความผิดปกติของระบบประสาทร่วมด้วย
- Spinal meningocele ให้มีถุงของ meninges
ยื่นออกมาด้านนอกในถุงนี้อาจมีน้ำเลี้ยงสมอง
และไขสันหลัง (cerebrospinal fluid)
เรียกว่า meningocele
- Spina bifida occulta
ไม่มีอาการหรือความผิดปกติที่เด่นชัด
หรืออาจมีแค่กระจุกของเส้นผมที่อยู่เหนือ spinous
process ที่ผิดปกติเท่านั้น หรือมีปานแดง
หรือก้อนไขมันอยู่ข้างใต้
การรัษา
-
กรณีไม่สามารถผ่าตัดใน 24 ชั่วโมงแรก ควรให้ยาปฏิชีวนะ และควรใช้ผ้าก๊อซชุบน้ำเกลือสะอาดปิดก้อนเอาไว้เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
-
-
-
การผ่าตัดปิดส่วนที่ยื่นออกมา และทำทางระบายน้ำไขสันหลัง
(shunt) ซึ่งทำได้ 2 ระยะขึ้นกับภาวะ hydrocephalus
-
ระยะที่ 2 เย็บปิดรอยโรคไปก่อน และใส่ shunt ภายหลัง ถ้ามี meningitis หรือมี ventriculitis ให้ใส่ ventricular drainage และรักษาการติดเชื้อให้หายก่อนจึงใส่ shunt
การผ่าตัดมักจะคำนึงถึงโอกาสรอดจากความพิการของเด็ก เพราะเด็กมีปัญหาเกิดร่วมทั้งในระบบประสาทและระบบอื่นๆด้วย
กระดูกสันหลังไม่เชื่อมกันเป็นวงแหวนเพื่อหุ้มไขสันหลังทำให้เกิดรูโหว่ CSF จะดัน spinal cord
ออกมาอยู่นอกไขสันหลัง
-
-
-
-
-