Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระยะเวลาการคลอดผิดปกติ, บทที่ 5 การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของป…
ระยะเวลาการคลอดผิดปกติ
การคลอดยาวนาน (Prolong labor)
การคลอดใช้เวลาตั้งแต่เจ็บครรภ์จริงจนถึงคลอดทารกนานกว่า 24 ชั่วโมง
แบ่งได้เป็น 3 แบบ
การคลอดยาวนานในระยะปากมดลูกเปิดช้า (prolong latent phase)
ครรภ์แรก มากกว่า 20 ชั่วโมง
ครรภ์หลัง มากกว่า 14 ชั่วโมง
การคลอดยาวนานในระยะเร่ง (active phase disorder)
แบ่งได้ 2 ชนิด
ปากมดลูกเปิดขยายล่าช้า (protracted dilatation)
ครรภ์แรก น้อยกว่า 1.2 cm/hr
ครรภ์หลัง น้อยกว่า 1.5 cm/hr
ส่วนนำเคลื่อนต่ำล่าช้า (protracted descent)
ครรภ์แรก เคลื่อนต่ำน้อยกว่า 1 cm/hr
ครรภ์หลัง เคลื่อนต่ำน้อยกว่า 2 cm/hr
การหยุดชะงักของการเปิดขยายของปากมดลูก
หรือการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ(arrest disorder)
แบ่งได้ 4 ชนิด
การคลอดยาวนานในระยะ deceleration (prolonged deceleration phase)
ครรภ์แรก มากกว่า 3 ชั่วโมง
ครรภ์หลัง มากกว่า 1 ชั่วโมง
การเปิดขยายของปากมดลูกหยุดชะงัก (secondary arrest of dilatation)
ปากมดลูกไม่มีการเปิดขยายเพิ่มขึ้นภายในเวลา 2 ชั่วโมง
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำหยุดชะงัก (arrest of descent)
ส่วนนำของทารกไม่มีการเคลื่อนต่ำเพิ่มขึ้นภายในเวลา 1 ชั่วโมง
ไม่มีการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ (failure of descent)
ส่วนนำของทารกไม่มีการเคลื่อนต่ำลงมา
แม้ว่าจะอยู่ในระยะ deceleration phase
สาเหตุ
ได้รับยาระงับความรู้สึกหรือยาระงับความเจ็บปวดมากเกินไป
ปากมดลูกยังไม่พร้อม
มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
CPD
ผลกระทบ
ผู้คลอด
อ่อนเพลีย
มีภาวะขาดน้ำ
เสี่ยงต่อภาวะมดลูกแตก
ทารก
อาจได้รับอันตรายจากการช่วยคลอด
ขาดออกซิเจน
แนวทางการรักษา
ขึ้นอยู่กับสาเหตุหรือปัจจัยส่งเสริม
หากมีภาวะ CPD
ควรผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
รายที่สามารถคลอดได้เอง ประเมินและเตรียมปากมดลูก
ให้พร้อม ดูแลมดลูกให้หดรัดตัวดี และให้ยาระงับความเจ็บปวด
การพยาบาล
ประเมินหาสาเหตุ ให้การพยาบาลเพื่อแก้ไขตามสาเหตุ
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
ส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าของการคลอดอย่างเหมาะสม
ประเมินสภาวะของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะมดลูกแตก
ดูแลให้ได้รับอาหารหรือสารน้ำทางหลอดเลือดดำอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitate labor)
ความหมาย
การเจ็บครรภ์และการคลอดทารกภายในเวลา 3 ชั่วโมง
การเจ็บครรภ์ที่มีอัตราการเปิดขยายของปากมดลูก
ครรภ์แรก มากกว่า 5 cm/hr
ครรภ์หลัง เปิด 10 cm/hr
การวินิจฉัย
ตรวจทางหน้าท้อง; มดลูกหดรัดตัวถี่ นาน และแรงกว่าปกติ
Uterine Contraction ≤ 2 นาที นาน > 90 วินาที หรือไม่คลายตัว
ตรวจภายใน; ปากมดลูกเปิด
ครรภ์แรก มากกว่า 5 cm/hr
ครรภ์หลัง เปิด 10 cm/hr
สาเหตุ
เคยมีประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือการคลอดเร็ว
ไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอด หรือไม่รู้สึกอยากเบ่ง
เชิงกรานกว้าง
ทารกตัวเล็ก
ไวต่อยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก และกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่หนทางคลอดไม่ดี
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
อาจเกิดภาวะ AFE
uterine rupture
PPH
ติดเชื้อที่แผล
เนื้อเยื่อบริเวณหนทางคลอดฉีกขาด
ทารก
อาจสำลักน้ำคร่ำ
Asphyxia
ติดเชื้อจากเตรียมคลอดไม่ทัน
บาดเจ็บจากการคลอด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
เลือดออกในสมอง
แนวทางการรักษา
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
เตรียมพร้อมสำหรับการคลอดอย่างเร่งด่วน
การพยาบาล
เตรียมอุปกรณ์การทำคลอดให้พร้อมใช้
กรณีที่ทารกคลอดออกมาพร้อมถุงน้ำคร่ำ อย่ารีบกระตุ้นการหายใจของทารก
แนะนำเทคนิคการหายใจ เพื่อชะลอแรงเบ่งของมารดา
ติดตามการฉีกขาดของช่องทางคลอด การตรวจร่างกายทารก
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดและ FHS อย่างใกล้ชิด
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา
แนะนำสังเกตอาการนำเข้าสู่ระยะคลอด
บทที่ 5 การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคลอด
นางสาวเกตน์นิภา เกทะโล
รหัส 603901003 เลขที่ 2
นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3