Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเขียนโครงร่างและรายงานการวิจัย, ความถูกต้องและทันสมัยของเนื้อหา, …
การเขียนโครงร่างและรายงานการวิจัย
การเขียนโครงร่างการวิจัย (Research proposal)
หลักการเขียนโครงร่างวิจัย
การเขียนโครงร่างการวิจัย ควรมีองค์ประกอบ ดังนี้
ชื่อเรื่องวิจัย (Research Topic or The Title)
ควรตั้งให้ดึงดูดและน่าสนใจ
เป็นประโยคบอกเล่า
สั้นกะทัดรัด ชัดเจน และสื่อความหมายครอบคลุมเนื้อเรื่องทั้งหมด
ความยาวไม่เกิน 2 บรรทัด
ชื่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษสอดคล้องกัน
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (Background and significance of the Problem)
สภาพปัญหาในปัจจุบัน มีข้อมูล/สถิติ
ผลกระทบของปัญหา ความรุนแรงของปัญหา
อธิบายแนวคิด/ทฤษฏีของตัวแปรที่ศึกษา
ความจำเป็นที่ต้องศึกษาจากประชากรกลุ่มที่สนใจ
มีความเชื่อมโยงกันในแต่ละย่อหน้า
คำถามวิจัย (Research question)
• คำถามการวิจัยชัดเจนจะช่วยผู้วิจัยกำหนดวัตถุประสงค์ ตั้งสมมุติฐาน นิยามตัวแปร
• สัมพันธ์กับเรื่องที่ศึกษามีคำถามหลักและหรือคำถามรอง
• รูปประโยคคำถาม
วัตถุประสงค์การวิจัย (Research objective)
• ประโยคบอกเล่า
• ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ทั่วไปและวัตถุประสงค์เฉพาะ
• กำหนดเป้าหมายวิจัยให้ชัดเจน
• มีความเฉพาะเจาะจง ไม่คลุมเครือ
• สอดคล้องกับชื่อเรื่องและคำถามการวิจัย
สมมติฐานการวิจัย (Research hypothesis)
• คาดคะเนหรือการทายคำตอบปัญหาอย่างมีเหตุผล
• เขียนความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามโดยระบุขนาดและทิศทาง
• งานวิจัยบางเรื่องไม่จำเป็นต้องมีสมมุติฐาน
ขอบเขตการวิจัย (Scope of the study)
ระบุให้ครอบคลุมประเด็นที่ศึกษา
ประชากร
กลุ่มตัวอย่าง
ตัวแปร
คำนิยามศัพท์ หรือคำจำกัดความในการวิจัย (Definition of terms)
• นิยามคำศัพท์ที่ใช้ในการวิจัยเป็นคำศัพท์เชิงปฏิบัติการ
นิยามศัพท์ตัวแปรต้องให้คำจำกัดความอย่างชัดเจนที่สามารถสังเกตและวัดได้
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (Significance of finding)
ผลที่ค้นพบจะนำไปใช้ประโยชน์อะไร
ต่อใคร แก้ปัญหาใด
ด้านบริหาร บริการ และวิชาการ
กลุ่มตัวอย่างวิจัย ครอบครัว ชุมชน องค์กรวิชาชีพ หน่วยงาน และประเทศชาติ
กรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Framework)
คำอธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลของปรากฏการณ์ต่างๆ
แปลงข้อมูลจากนามธรรมมาเป็นสิ่งที่วัดได้ และสังเกตได้
เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของทฤษฎี
จำเป็นต้องสร้างตามกรอบแนวคิดนิยมทำเป็นแผนภูมิ
วิธีดำเนินการวิจัย (Research Methodology)
• การออกแบบการวิจัย
• ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
• เครื่องมือวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพ
• การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่างวิจัย
• การรวบรวมข้อมูล
• การวิเคราะห์ข้อมูล
รายการอ้างอิง หรือบรรณานุกรม (Reference and Bibliography)
การอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหา
(ผู้แต่ง,ปีที่พิมพ์,เลขหน้า)
2.ผู้แต่ง (ปีที่พิมพ์,เลขหน้า)
ปีที่พิมพ์ ผู้แต่ง (เลขหน้า)
งบประมาณ (Budget) ๑๓) แผนการดำเนินการวิจัย (Research Plan)
• กิจกรรมในการทำวิจัยใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง จำนวนเท่าไหร่ ควรชี้แจงรายละเอียด
• ค่าตอบแทน
• ค่าใช้จ่าย
• ค่าวัสดุ
13.แผนการดำเนินการวิจัย
• เขียนแผนการดำเนินงานตั้งแต่เริ่มแรกจนสิ้นสุดโครงการ
• เขียนเป็น Gantt chart
• กำหนดกิจกรรมต่างในงานวิจัยให้ระบุช่วงเวลา
ความหมายโครงร่างการวิจัย
โครงร่างการวิจัย หมายถึง แบบแปลนที่เขียนขึ้นในการแสวงหาความรู้ โดยแสดงให้เห็น ความสำคัญ และความเป็นไปได้ในการดำเนินการวิจัยให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายได้และใช้เป็นแนวทางในการดำเนิน
การวิจัย
วัตถุประสงค์ของการเขียนโครงร่างการวิจัย
เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ ในโครงร่างการวิจัย
เพื่อนำเสนอต่อหน่วยงาน องค์กร สถาบัน บุคคล เพื่อขอรับทุนสนับสนุน
นำเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ (reviewer)หรือเพื่อนนักวิจัย (peer reviewer) เพื่อให้ข้อเสนอแนะช่วยเหลือปรับปรุงให้มีความชัดเจน เหมาะสมและดียิ่งขึ้น
เพื่อใช้เป็นแนวทางระหว่างผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัยให้เข้าใจ และดำเนินการวิจัยไปในทิศทางเดียวกันตามที่ระบุในโครงร่างการวิจัย
รายงานการวิจัย
เอกสารที่รายงานการดำเนินการวิจัยและผลการวิจัยที่ค้นพบ และนำมาเรียบเรียงอย่างเป็นระเบียบเรื่องราวที่นำมาเขียนต้องเป็นข้อเท็จจริงเกิดจากการรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า
อย่างเป็นระบบ
วัตถุประสงค์การเขียนรายงานการวิจัย
1.เพื่อเสนอข้อเท็จจริง หรือความรู้ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ
2.เพื่อพัฒนาความคิด ด้านการคิดริเริ่มการวิเคราะห์ การประมวลความคิดอย่างมีระบบ และถ่ายถอดความคิดเป็นภาษาที่ชัดเจนสละสลวย
3.เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ในการรวบรวมข้อมูลประกอบการอ้างอิง เป็นวิธีการหาความรู้ด้วยตนเอง
หลักการเขียนรายงานการวิจัย
รูปแบบถูกต้อง
ความเหมาะสมและความถูกต้องด้านภาษา
ความมีจรรยาบรรณของนักวิจัย
• ความซื่อสัตย์และคุณธรรมทางวิชาการ
• เคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของกลุ่มตัวอย่าง
• นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่เหมาะสม
องค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน
ส่วนต้น (Preliminary section)
ปกหน้า (Title Page)
หน้าประกาศคุณูปการ (Acknowledgement Page)
บทคัดย่อ (Abstract)
สารบัญ (Table of Contents)
บัญชีตาราง (List of Tables)
บัญชีภาพประกอบ (List of Figures)
ส่วนเนื้อหารายงาน (Body of the report)
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความสำคัญและความเป็นมาของปัญหา
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.3 สมมติฐานของการวิจัย
1.4 ขอบเขตของการวิจัย
1.5 นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
เนื้อหาเกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัย แนวคิดและทฤษฏีทั้งในประเทศและต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ศึกษา รวมทั้งกรอบแนวคิดการวิจัย
บทที่ 3 การดำเนินการวิจัย
3.1 การออกแบบการวิจับ
3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.3 เครื่องมือวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพ
3.4 การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่างวิจัย
3.5 การรวบรวมข้อมูล
3.6 การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปย่อสาระสำคัญต่างๆ จากบทที่ 1, 3 และ 4
5.2 สรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์
5.3 อภิปรายผลการวิจัย
5.4 ข้อเสนอแนะการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
5.5 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
เป็นการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำเสนอในรูปตาราง หรือกราฟตามความเหมาะสมของสาระที่นำเสนอ โดยมีคำอธิบายประกอบตารางที่นำเสนอ
ส่วนท้าย/อ้างอิง (Referent report)
ภาคผนวก
รายการอ้างอิง/ บรรณานุกรม
ประวัติผู้วิจัย
ความถูกต้องและทันสมัยของเนื้อหา
ความเรียบร้อยของรายงาน
นางสาวญาณิศา มลาชู รหัสนักศึกษา 613101026 เลขที่ 26