Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา, นางสาวมัลลิกา อ่อนประชู รหัสนิสิต…
บทที่ 6
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
บทนำ
จุดประสงค์
เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
หรือการประเมินตนเอง
นโยบายกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา 2561
เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
และเตรียมการประเมินภายนอก
การประเมินคุณภาพภายใน
คุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้
สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรของสถานศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในทุกระดับชั้น พฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน
คุณภาพการศึกษาด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา
สถานศึกษาสามารถาเนินการประเมินคุณภาพการศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนดเพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างบทบาทของหน่วยงานต้นสังกัดกับสถานศึกษาในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษากับการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในการส่งเสิมและพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
ระดับสถานศึกษา
ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาเพื่อเป็นกลไกในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพ
2.การจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา
กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษา
จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา
ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ติดตามผลการด าเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง
พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจากรายงาน
ผลการประเมินตนเอง
สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ)
ระดับสำนักงานพื้นที่การศึกษา
ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ช่วยเหลือและแนะนำสถานศึกษา
จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนำสถานศึกษา
เพื่อให้การประกันคุณภาพ
ติดตามผลการดำเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตรับฟังหรือให้ข้อมูลเพิ่มเติมในการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กำหนดนโยบายด้านการศึกษา
ส่งเสริม สนับสนุน ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ ต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
วิเคราะห์ และสรุปผล ตามข้อเสนอแนะของสำนักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ)
ให้ความร่วมมือกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ) ในการจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรอง
จากสำนักงาน
หลักการสำคัญของการประเมินคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา
1) จุดมุ่งหมายของการประเมินคุณภาพภายใน คือ การที่สถานศึกษาร่วมกันพัฒนาปรับปรุง โดยมีเป้าหมายสำคัญอยู่ที่การพัฒนาคุณภาพให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
2) การที่จะดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายตามข้อกำหนด
ต้องทำให้การประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการบริหารจัดการ
สถานศึกษาต้องวางแผนพัฒนาการ จัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน มีการทำตามแผนและมีจิตสำนึกในการพัฒนาคุณภาพการทำงาน
แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายใน
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เป็นระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร
การศึกษาอย่างต่อเนื่อง
การประเมินคุณภาพภายในกระทำโดยบุคลากร
ในหน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
ถือเป็นกระบวนการตรวจสอบการทำงานของตนเอง
(Self-evaluation)
วัตถุประสงค์ของการ
ประเมินคุณภาพภายใน
เพื่อตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและมาตรฐานสถานศึกษา
เพื่อนำผลการประเมินคุณภาพภายในมาใช้เป็นข้อมูล
ประกอบในการตัดสินใจวางแผนพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา
เพื่อพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เพื่อนำข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปจัดทำรายงานประจำปี
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
กับการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก
มีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง สุขนิสัยที่ดีและดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้
มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น
จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน
ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์
จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและพอเพียง
ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ
สร้างโอกาสให้เด็กได้รับ ประสบการณ์ตรงเล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข
จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและ
เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย
ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการ
ประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก
ขั้นตอนและแนวทางการประเมินคุณภาพภายใน
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นการเตรียมการ
การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทุกคน
การแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานด้านการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ขั้นการดำเนินงาน
การวางแผนการปฏิบัติงาน (P)
การดำเนินการตามผน (D)
การตรวจสอบผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา (C)
การนำผลการประเมิน
คุณภาพภายในมาปรับปรุง (A)
ขั้นการจัดทำรายงานผลการประเมิน
จัดทำรายงาน
รวบรวมผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพ
ภายในตามมาตรฐาน
เขียนรายงานการประเมินคุณภาพภายใน
แนวทางการประเมินคุณภาพภายใน
การปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
โดยสถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาที่เกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพของสถานศึกษาที่พึงประสงค์
เป็นการส่งเสริมกำกับดูแลระบบการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐาน การศึกษาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการหรือ
คณะทำงานประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยมีเครื่องมือการประเมิน
นำผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปใช้และพัฒนา
การรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
สถานศึกษาสรุปผล และรายงานผลการประเมินคุณภาพ
ภายในตามาตรฐานการศึกษา
นำไปวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อ
การสรุปและรายงานการประเมินคุณภาพภายใน
วัตถุประสงค์ของการรายงาน
เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษาได้ทราบถึงสภาพการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
เพื่อให้สถานศึกษานำผลการประเมินคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
และให้การสนับสนุน
สาระสำคัญที่ควรปรากฏในรายงาน
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
สาระสำคัญของการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
วิธีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
นางสาวมัลลิกา อ่อนประชู รหัสนิสิต 60206699
วิทยาลัยการศึกษา แขนงวิชาชีววิทยา