Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ - Coggle Diagram
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ
อุบัติเหตุ หมายถึง
เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างไม่คาดคิด และเกิดเวลาใดก็ได้เมื่อเกิดขึ้นแล้วย่อมนำมาซึ่งความสูญเสียและความโศกเศร้าแก่ครอบครัว
อุบัติเหตุในเด็ก
ส่วนใหญในเด็กเล็กมักเกิดขึ้นในบ้านสามารถป้องกันได้เช่น การจัดบ้านให้โอกาสเกิดอุบัติเหตุน้อยลง
เด็กเป็นกลุ่มที่สามารถเกิดอันตรายจากอุบัติเหตุ และความไม่ปลอดภัยต่างๆ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ
ด้านตัวเอง
อยาก อยากเห็นตามพัฒนาการของเด็กที่ต้องมีการเรียนรู้ พัฒนาการของเด็กจะพัฒนาทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญา
สิ่งแวดล้อม ทั้งสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อมด้านสังคม เป็นสาเหตุให้เกิดอุบัติเหตุในเด็กได้ เช่น ถนน แม่นำ้ลำคลอง สระนำ้ สนามเด็กเล่น
ผลกระทบของการเกิดอุบัติเหตุในเด็ก
ผลกระทบด้านร่างกาย อุบัติเหตุมีผลกระทบ
ผลกระทบต่อผิวหนัง
ผลกระทบต่อเส้นเลือด อาจมีการฉีกขาด เสียเลือด เสียชีวิต
ผลกระทบต่อเนื้อเยื่อหรือกล้ามเนื้อของร่างกาย มีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อหรือกล้ามเนื้อ
ผลกระทบด้านจิตใจ
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับเด็กทำให้สภาพร่างกายเด็กได้รับความเจ็บปวดทุกข์ทรมานจาก บาดแผลประเภทต่างๆ
ผลกระทบระยะยาว
เด็กเกิดอุบัติเหตุได้รับบาดเจ็บ เช่นกรณีม้ามแตกการตัดม้ามอาจทำให้ภูมิคุ้มกันของเด็กบกพร่องได้
การเจริญโตหยุดชะงับและส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการล่าช้า
การอุดตันทางเดินหายใจ
อุบัติเหตุจากการนอน(อายุ 0-2 เดือน)
ที่นอนนุ่ม อุดกั้นทางเดินหายใจ
มารดาที่หลับลึกนอนทับ
การอุดตันทางเดินหายใจ
อาหาร ของเล่น เหรียญ แบตเตอรี่่
การขาดอากาศ เช่น การผูกคอ หรือการรัดคอ
ปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาเมื่อเกิดการอุดกันทางเดินหายใจ
สมองขาดออกซิเจน ทำให้เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต
เกิดภาวะปอดแฟบ ปอดพอง หรือหอบหืดได้
ทำให้เกิดปอดอักเสบ หลอดลมอักเสบ
สิ่งแปลกปลอมบางชนิด เช่น ถ่านนาฬิกา ถ่านเครื่องคิดเลข
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพ
การอุดตันทางเดินหายใจ
กรณีเด็กอายุตํ่ากว่า1ปี
จับเด็กนอนควํ่าบนแขน ให้ศีรษะตํ่าลงเล็กน้อย
ใช้ฝ่ามือตบลงตรงกลางหลังของเด็ก ระหว่างกลางของสะบัก 2 ข้าง เร็วๆ 5ครั้ง
ถ้าไม่ได้ผล จับทารกนอนหงายบนแขนให้ศีรษะตํ่า แล้วใช้นิ้วชี้กับนิ้วกลางวางบนกระดูกหน้าอกเหนือกระดูกลิ้นปี่แล้วกออกลง ประมาณครึ่งนิ้วถึง1นิ้วเร็วๆ5ครั้ง
กรณีที่ผู้ป่วยยังไม่รู้สึกตัวดี
ใช้ในเด็กโต1ปีขึ้นไปและผู้ใหญ่ โดยมีวิธีปฎิบัติ ดังนี้
ใช้มืออีกข้างรัดกระตุกกำปั้นกระทุ้งดันบนมือที่กำในแนวเข้าในและเฉียงขึ้นบน
ทำซํ้า5ครั้ง หรือทำซํ้าจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา หรือผู้ป่วยหมดสติ
ถ้าหมดสติไม่หายใจให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
ไม่หายใจต้องทำ CPR ทันที
หลักพื้นฐานการทำ CPR คือ C-A-B ได้แก่
Compression(C)-กดหน้าอก เพื่อนวดหัวใจ
Airways(A)-ตั้งศีรษะของผู้ป่วยให้ตรง แล้วเชยคางเล็กน้อยเพื่อเปิดทางเดินหายใจ
Breathing(B)-ช่วยหายใจด้วยการประกบปาก แล้วเป่าลมเข้าไป
แต่ถ้าไม่แน่ใจถึงความปลอดภัย มีเลือด ให้ข้ามขั้นตอนการ mouth-to-mouthทำแค่2ขั้นตอนครับ
โทรเรียกรถพยาบาล
ปั้มหัวใจด้วยมืออย่างเดียว
การกดหน้าอกอย่างมีประสิทธิภาพ
กดด้วยความเร็วที่เหมาะสม อัตราเร็ว 100-120 ครั้งต่อนาที
กดลึกอย่างพอเพียงเพื่อกระตุ้นการทำงานของหัวใจอย่างน้อยประมาณ5cm
ให้หน้าอกคืนตัวอย่างเต็มที่ก่อนจะทำการกดครั้งต่อไป
กดอย่างต่อเนื่อง
คำแนะนำผู้ปกครองในการป้องกัน
ไม่จัดให้นอนข้างผู้ใหญ่บนเตียงหรือเบาะที่นอนเดียวกันเพราะมีความเสี่ยงจากการถูกนอนทับที่นอนเด็กไม่ควรหนาอ่อนนิ่มเกินไป
ใช้ที่นอนบาง แข็งพอควร ใช้หมอนบางใบเล็ก ใส่ชุดนอนให้อบอุ่น และเลือกใช้ผ้าห่มบาง
อย่าให้เด็กนอนอยู่ใกล้สิ่งของซึ่งอาจพลิกควํ่าทับตัวเด็ก
จัดให้เด็กนอนหงาย การนอนควํ่าจะเกิดการกดทับปากจมูกได้
เตียงเด็กที่มีชี่ราวกันดก ช่องระหว่างชี่ต้องห่างไม่เกิน6ชม
อย่าให้เด็กทารกอายุ3-5เดือนขึ้นไปเล่นสิ่งของชิ้นเล็กที่สามารถเอาเข้าปากได้ เช่น ของเล่น ของใช้ โดยลำพังแม้เพียงชั่วขณะ
หัวนมดูดเล่น ต้องเลือกแบบที่มีการรับรองมาตรฐานเท่านั้น ห้ามใช้หัวนมดูดเล่นที่มีรอยขาดระหว่างหัวนมกับฐาน
ห้ามใช้สายคล้องคอเด็กเด็กเล็ก เช่น สายคล้องจุกนม ของเล่น กีตาร์ เพราะอาจทำให้เกิดการรัดคอและขาดอากาศหายใจ
ไม่ควรให้เด็กอายุน้อยกว่า8ปีเล่นลูกโป่งที่ยังไม่ได้เป่าหรือเศษลูกโป่งโดยลำพัง
ของเล่นประเภทลูกบอล ลูกหินหรือลูกแก้ว เป็นของเล่นที่มีความเสี่ยงสูงต่อเด็กวัยนี้ที่จะเอาเข้าปากและเกิดการสำลักได้
การพลัดตกหกล้มและชนกระแทก
เด็กแรกเกิดสามารถถีบขาดันกับสิ่งขวางกั้นต่างๆ เช่น เตียง เก้าอี้โซฟาได้
เด็ก6-12เดือน จะเริ่มเคลื่อนที่ได้ดีและเร็วขึ้นจากกลิ้งได้ คืบได้
คลานได้ เกาะเดินได้ และเดินได้เอง เด็กจะมีความเสี่ยงต่อการตกบันได หกล้ม ซนกระแทก
ทำให้เกิด การบาดเจ็บ เล็กน้อยไปจนถึงรุนแรงและเสียชีวิตได้
การป้องกันการพลัดตกหกล้มและชนกระแทก
ราวบันไดและระเบียงต้องมีช่องห่างไม่เกิน9ชม หรือหาแผ่นไม้มากั้น
หน้าต่างต้องอยู่สูงอย่างน้อย1เมตรเพื่อป้องกันไม่ให้เด็กปีนป่ายได้
เฟอร์นิเจอร์ เช่น โต๊ะ ตู้ ต้องไม่มีมุมคมหากมีควรใส่อุปกรณ์กันกระแทกที่มุมขอบทุกมุม
ตู้วางของต่างๆต้องวางบนพื้นราบมั่นคง
หมั่นตรวจสอบประตูรั้วบ้านที่เป็นประตูเลื่อนซึ่งมีขนาดใหญ่
การปฐมพยาบาล
ฟกซํ้า24 ชั่วโมงแรก ประคบเย็น เพื่อลดความบอบซํ้าของเนื้อเยื่อหลัง24ชม ให้ประคบอุ่น
เลือดออก แผลฉีดขาด ห้ามเลือด โดยกดบนแผลด้วยผ้าสะอาดแล้วทำความสะอาดแผลด้วย0.9%NSSและปิดแผล
กระดูกหัก ให้หาวัสดุที่แข็ง เช่น ไม้อัด กระดาษแข็ง ที่มีขนาดเหมาะสมกับอวัยวะและพันประครองอวัยวะไว้กับวัสดุที่แข็งนั้น
การเขย่าตัวเด็ก
การเขย่าทำให้เกิดเลือดออกในสมองและประสาทตา ทำให้เด็กพิการทางสมองตาบอดหรือเสียชีวิตได้
การป้องกัน คือ ห้ามเขย่าเด็ก
สัตว์กัด
แมลง มีพิษ เช่น ผึ้ง ต่อ แตน ตะขาบ
สัตว์เลี้ยงกัด เช่น สุนัข แมว
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
สุนัข แมวกัด ควรรีบทำความสะอาดบาดแผลด้วยนำ้สะอาดและสบู่อย่างน้อย15นาที
แมลงมีพิษ เอาเหล็กในออกด้วยเล็บ หรือใช้วัสดุแข็งขอบแข็งเขี่ย แล้วใช้แหนมคีบออก ทำแผล ทายาใช้ สำหรับแมลงกัดทา
การป้องกันอันตารยจากสัตว์
เด็กเล็ก ไม่ปล่อยให้เด็กทารกอยู่ตามลำพังกับสุนัข และต้องฉีดวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้าแก่สุนัขเลี้ยง
เด็ก สอนเด็กไม่ให้เล่นกับสุนัขจรจัดสุนัขเลี้ยงที่ไม่รู้จัก และลูกสุนัขแรกเกิดที่มีแม่อยู่ด้วย
สอนเด็กไม่ให้รังแกสัตว์ เช่น ดึงหู ดึงหาง แย่งจานอาหาร ของเล่นของสัตว์
ความร้อนลวกและอันตารยจากไฟฟ้า
นำ้ร้อน ไฟไหม้ ไอความร้อน
สารเคมี เช่น นำ้กรด
ไฟฟ้าช้อต
เกิดการบาดเจ็บบริเวณผิวหนังเป็นแผลไหม
ระดับความลึกของบาดแผลไฟไหม้
ระดับแรก
การไหม้จะจำกัดอยู่ที่ผิวหนังชั้นกำพร้า บาดแผลจะแดง ไม่มีตุ่มพอง เจ็บปวดหรือแสบร้อนจะใช้เวลารักษาประมาณ7วัน โดยไม่ทิ้งรอยแผล
ระดับที่สอง
บาดแผลระดับที่สองชนิดตื้น ชั้นหนังกำพร้า และหน้าแท้ ส่วนที่อยู่ตื้นๆจึงหายได้เร็ว
ระดับที่สาม
บาดแผลไหม้จะลึกลงไปจนทำลายหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมดรวมทั้งต่อมเหงื่อขุมขนและเซลล์ประสาท
การป้องกันอันตรายจากความร้อนลวกและอันตรายจากไฟฟ้า
อย่าวางของร้อนบนพื้น เช่น หม้อนำแกง เด็กวัยนี้เดินวิ่งได้อาจเกิดการสะดุดล้มลงในภาชนะที่บรรจุนํ้าร้อนได้
ต่อสายดินในบ้านให้ถูกวิธีและต่อเครื่องตัดไฟฟ้าอัตโนมัติ
ช่องเสียบปลั้กควรอยู่สูงกว่ามือเด็ก หรือใช้ที่เสียบป้องกันเด็กเล็ก
เด็กต้องได้รับการสอน สาธิตให้รู้วิธีการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเกิดไฟไหม้ นำ้ร้อนลวกไฟฟ้าชอต
ล้างด้วยนำ้สะอาดที่อุณหภูมิปกติ ช่วยลดการหลั่งสารที่ทำให้เกิดอาการปวดบริเวณบาดแผล
หลังจากนั้นซับด้วยผ้าแห้งสะอาด แล้วสังเกตว่าผิวหนังมีรอยถลอก มีตุ่มพองใส หรือมีสีของผิวหนังเปลี่ยนไป ควรรีบไปพบแพทย์
การจมนำ้
เสียชีวิตพร้อมกันครั้งละหลายๆคน เนื่องจากพอเห็นเพื่อนหรือน้องตกนำ้คิดว่าตัวเองว่ายนำ้เป็นจึงกระโดดลงไปช่วยแต่สุดท้ายจะกอดคอกันเสียชีวิต
การปฐมพยาบาลเด็กจมนำ้
การนำผู้บาดเจ็บขึ้นจากนำ้โดย ตั้งสติ ถ้าไม่แน่ใจถึงความปลอดภัยในการลงไปช่วยผู้ประสบภัยในนำ้
ห้าม ลงไปในนำ้ ให้ตะโกนเรียกคนมาช่วยและหาวัสดุที่ลอยนำ้ได้ใกล้ตัวโยนไปให้ผู้ประสบภัยเกาะ
กรณีต้องลงไปช่วยในนำ้ให้เป็นเจ้าหน้าที่ของผู้ใหญ่ หรือผู้ที่มีความชำนาญ
การป้องกันการจมนำ้
การคลาน หัดเดิน เดิน วิ่งเล่น เด็กวัยนี้ยังจมนำ้ในแหล่งนำ้ในบ้านหรือรอบๆ
สารพิษ
สารพิษ มักเป็นสารที่ใช้ภายในบ้าน เช่น ผงชักฟอก นำ้ยาชักผ้า นำ้ยาปรับผ้านุ่ม นำ้ยาล้างห้องนำ้ นำ้มันเบนซิน นำ้มันก๊าด
ลักษณะการเกิดเหตุ เก็บสารพิษไม่พ้นมือเด็ก
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเด็กได้รับสารพิษ
สารพิษได้รับทางผิวหนัง
สามารถทำได้โดยถอดเสื้อผ้าหรือสิ่งปกคลุมออกแล้วล้างด้วยนำ้สะอาด
สารพิษที่ได้รับโดยวิธีรับประทาน
ลดการดูดซึม สามารถทำได้โดยการให้ผู้ป่วยดื่มนำ้1หรือ2แก้ว หรืออาจจะใช้นำ้นมแทนนำ้ก็ได้
การล้างท้อง
ข้อห้าม ในการทำให้ผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษอาเจียนคือสารพิษทชนิดที่ประกอบด้วยกรดหรือด่าง นำ้มันเบนซิน นำ้มันก๊าด
การป้องกันเด็กได้รับอันตรายจากสารพิษ
ไม่นำเอาสารพิษใส่ภาชนะที่มีลักษณะคล้ายกับภาชนะที่บรรจุอาหารหรือเครื่องดื่มและไม่วางอยู่ในที่เดียวกับที่วางอาหารและเครื่องดื่ม
เลือกใช้ของเล่นที่ได้มาตรฐาน เหมาะสมกับอายุเด็ก
อุบัติเหตุจราจร
รถจักรยาน รถจักยายนต์ รถยายนต์ รถรับส่งไปโรงเรียน
ส่วนมากอุบัติเหตุทางจราจรของเด็กอายุตํ่ากว่า15ปีเสียชีวิตสูงสูดคือรถจักยานยนต์
สาเหตุของอุบัติเหตุ
รถชนกัน ชนสิ่งกีดขวาง รถคํ่า รถล้ม ถอยรถทับเด็ก ลืมเด็กไว้ในรถ
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ตั้งสติประเมินสถานที่เกิดเหตุผู้บาดเจ็บ
ขอความช่วยเหลือจากคนรอบข้างที่เกิดเหตุ โทรแจ้ง 1669 พร้อมบอกอาการผู้ป่วย
ช่วยเหลือตามการเจ็บ เช่น เลือดออกห้ามเลือด กระดูกหักงดการเคลื่อนไหว บริเวณนั้น หยุดหายใจให้CPRเมื่อหยุดหายใจ เพื่อรอการช่วยเหลือจากรถพยาบาล
การป้องกันเด็กได้รับอันตรายอุบัติเหตุจราจร
ไม่ให้เด็กโดยสารนั่งหรือยืนด้านหลังรถปิคอัพการโดยสาร
รถจักรยานยนต์ ต้องใช้หมวกนิรภัยเสมอ
ไม่ให้เด็กขับขี่รถจักรยานยนต์ก่อนอายุ18ปี
อุบัติเหตุจากอาวุธและของมีคม
ลักษณะของอุบัติเหตุ
เอาปีนพ่อมาเล่น ทำปีนลั่นใส่ตนเองหรือผู้อื่นเนื่องจากนึกว่าของเล่น
เล่นของมีคม เช่น มีด ดาบ ถูกบาดมือ แทง
บาดเจ็บจากชกต่อยใช้ความรุนแรง
ผลกระทบ
อาจบาดเจ็บเล็กน้อยไปจนถึงเสียชีวิต
การป้องกันเด็กได้รับอันตรายจากอุบัติเหตุจากอาวุธของมีคมและความรุนแรง
ผู้ดูแลไม่ปล่อยให้เด็กใช้ความรุนแรงต่อกันหรือรังแกกันในระหว่างเด็ก
สอนให้เด็กรู้จักบอกเมื่อมีผู้อื่นมากระทำหรือปฎิบัติโดยมิชอบ
ฝึกให้เด็กมีวิธีการจัดการความขัดแย้งอย่างเหมาะสมเช่น รับฟังความคิดเห็นยอมรับผิด ปรับปรุงตัว