Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง - Coggle…
การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(Non-Communicable Diseases)
โรคความดันโลหิตสูง
ความดันในหลอดเลือดที่หัวใจคลายตัว ความดันเลือดปกติขณะพักอยู่ในช่วง 100-140มิลลิเมตรปรอท ในช่วงหัวใจบีบ 60-90 มิลลิเมตรปรอท คนเรามีความดันโลหิตสูงต่ำเป็นบางครั้งซึ่งจะกลับสู่สภาพปกติ
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
1.ควบคุมน้ำหนัก
คนที่่มีน้ำหนักเกินปกติ จะมีโอกาสเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากกว่าคนที่น้ำหนักปกติ เมื่อลดน้ำหนักความดันโลหิตก็จะลดลงด้วย โดยเฉพาะคนที่่มีประวัติครอบครัวป่วย
2.ลดการบริโภคโซเดียม
เพราะ จะช่วยลดความดันโลหิตได้แล้ว ยังเพิ่มโพแทสเซียมในเลือดด้วย การลดความเค็มในอาหารทำได้ดังนี้
2.1 ลดความเค็มในอาหาร
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด อาหารหมักดองรสเค็ม ลดการใช้เครื่องปรุงในอาหาร
2.2 หลีกเลี่ยงอาหารสำเร็จรูป
อาหารกระป๋อง หรือ ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ที่แปรรูป เช่น ไส้กรอก ไข่เค็ม
2.3 ลดความถี่และปริมาณการกินอาหารที่มีน้ำจิ้ม
เช่น น้ำจิ้มไก่ น้ำจิ้มสุกกี้ หมูกระทะ
2.4 หลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่สารกันเสีย ที่มีโซเดียมเป็นส่วนประกอบ
ได้แก่ โซเดียมเบ็นโซเอต
2.5 ปรุงอาหารด้วยเครื่องเทศ และ สมุนไพร
เพื่อเพิ่มกลิ่นและรสชาติและความอยากอาหารเมื่อต้องปรุงอาหารอ่อนเค็ม เช่น แกงเลียง ต้มยำ
2.6 งดหรือลดอาหารที่มีไขมันมาก
เช่น เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน อาหารทอด อาหารกะทิ
2.7 งดบุหรี่ และ แอลกอฮอล์
2.8 ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ให้เหมาะสมกับวัย
โรคอ้วน
โรคอ้วน หมายถึง โรคที่เกิดจากร่างกายมีการสะสมเนื้อเยื่อไขมันมากกว่าเกณฑ์ปกติ
รับประทานอย่างไรถึงอ้วนได้
พลังงานที่ได้รับ มากกว่า พลังงานที่ใช้ไป = น้ำหนักตัวเพิ่ม
2000>1500 = 500 (พลังงานส่วนเกิน)
พลังงานที่ได้รับ น้อยกว่า พลังงานที่ใช้ไป = น้ำหนักตัวลดลง
1500<2000 = -500 (พลังงานส่วนที่ขาด)
พลังงานสำหรับผู้หญิงที่ 1500-1600 กิโลแคลอรี พลังงานสำหรับผู้ชายที่ 1800-2000 กิโลแคลอรี พลังงาน
สำหรับคนที่ต้องการลดน้ำหนัก 1000-1200 กิโลแคลอรี/วัน
โภชนศึกษาโรคอ้วน
ควบคุมพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน ลดการรับประทานอาหารกลุ่มพลังงานสูง กลุ่ม ข้าว แป้ง ไขมัน เลือกบริโภคอาหารที่มีพลังงานต่ำ ไขมันต่ำ หวานน้อย เลือกดื่มชา กาแฟ ที่ไม่ใส่น้ำตาล เลือกเมนู ผ่านการปิ้ง นึ่ง อบ ย่าง ต้ม ตุ๋น แกงไม่ใส่กะทิ เลือกรับประทานอาหารกลุ่มไขมันต่ำ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันทรานส์
โภชนบำบัดโรคอ้วน
จานอาหารสุขภาพ (food plate model)
รับประทานถูกส่วน 2:1:1
แบ่งส่วนจานอาหารเป็น 4 ส่วน 1
การใช้อาหารในการบำบัดโรค และการให้โภชนาศึกษาในโรงพยาบาล
อาหารบำบัดโรคหรืออาหารเฉพาะโรค
โรคบางโรคอาการจะทุเลาเร็วขึ้น ถ้ามีการควบคุมอาหารให้เหมาะสม เช่น โรคเบาหวาน ภาวะไขมันสูงในเลือดความดันโลหิตสูง
อาหารลดโซเดียม
ไม่ได้หมายความว่าให้ลดเกลือและน้ำปลาอย่าง แต่ ลดปริมาณโซเดียมที่อยู่ในอาหาร ทั้งที่มีโดยธรรมชาติและที่เติมลงไป อาหารบางชนิดไม่ได้มีรสเค็ม แต่มีปริมาณโซเดียมสูงโดยธรรมชาติ
อาหารอ่อน
ข้าวต้ม+ไข่เค็ม
อาหารอ่อนลดโซเดียม
ข้ามต้ม+ไข่เจียว
อาหารลดไขมัน
อาหารลดไขมันเป็นอาหารที่มีไขมันน้อยกว่าอาหารทั่วไป อาหารบางชนิดมีไขมันสูงจึงต้องงด หลีกเลี่ยง รับประทานได้แต่ในปริมาณจำกัด
อาหารธรรมดา
ข้าว+แกงฝักทองใส่หมู
อาหารธรรมดาลดไขมัน
ข้าว+ต้มจับฉ่าย
อาหารลดโคเลสเตอรอล
ต้องหลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์ที่มีโคเลสเตอรอลสูง รับประทานในปริมาณจำกัดได้แก่ หนังเป็ด หนังไก่ หมูสามชั้น ไข่แดง ไข่ปลา
อาหารอ่อน
ข้ามต้ม+หมูสามชั้นทอด
อาหารอ่อนลดโคเลสเตอรอล
ข้ามต้ม+ปลาซาบะย่างซีอิ๊ว
อาหารดัดแปลงโปรตีน
อาหารที่มีโปรตีนสูง
เป็นสารอาหารที่กำหนดให้แก่ผู้ป่วยที่มีการสูญเสียโปรตีนและจำเป็นต้องได้รับการชดเชย
อาหารธรรมดา
ข้าวสวย+ต้มจืดเต้าหู้+ขนมเม็ดขนุน
อาหารที่มีโปรตีนต่ำ
โปรตีนในอาหารชนิดนี้จะต่ำกว่ามาตรฐานอาหารทั่วไป เป็นอาหารที่กำหนดให้แก่ผู้ป่วยโรคไต ที่ไม่มีการล้างไต
อาหารธรรมดาโปรตีนต่ำ
ข้าวสวย+ผัดผัก+ขนมชั้น
อาหารดัดแปลงพลังงาน
อาหารพลังงานต่ำ
ให้พลังงานต่ำกว่าอาหารทั่วไป เพื่อให้ผู้ป่วยอ้วนหรือมีน้ำหนักมากกว่าปกติ และจำเป็นต้องลดน้ำหนัก
อาหารธรรมดาพลังงานต่ำ
ข้าวสวย+ผัดบล็อกโคลี่ใส่กุ้ง+น้ำลำไย
อาหารพลังงานสูง
เป็นอาหารที่จัดให้แก่ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่ามาตรฐาน เพื่อให้มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
อาหารธรรมดา
ข้าวสวย+คะน้าหมูกรอบ+โกโก้
อาหารโรคเบาหวาน
เป็นอาหารที่แพทย์สั่งให้ผู้ป่วย เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลืือด ให้อยู่ในระดับใกล้เคียงกับภาวะปกติของคนทั่วไป รักษาน้ำหนักตัวของผู้ป่วยและป้องกันโรคแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น
อาหารธรรมดา
ข้าวสวย+แกงเขียวหวานไก่+ลาคูกะทิแคนตาลุป
อาหารธรรมดาเบาหวาน
ข้าวสวย+แกงเลียง+ส้ม1ผล
อาหารโดยสายให้อาหาร
สูตรอาหารแบบปั่นผสม
สูตรอาหารสำเร็จรูป
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
เป็นวิธีจะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารเพื่อการอยู่รอดของชีวิต สามารถต่อสู้กับการติดเชื้อได้
1.การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำแบบบางส่วน
คือ การให้อาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย สามารถให้อาหารได้เป็นบางส่วนไม่ครบตามความต้องการ
2.การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำแบบสมบูรณ์
คือ การให้อาหารทางเส้นเลือดดำใหญ่ สามารถให้สารอาหารได้ครบทั้งปริมาณและชนิดของอาหารเนื่องจากหลอดเลือดดำใหญ่มีเลือดผ่านมากและ แรงจึงช่วยให้ความอาหารมีความเข้มข้นสูงให้มีความเข้มข้นลดลง
Parenteral Formula
อาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำควรประกอบด้วยสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการของผู้ป่วย
Carbohydrate
Protein
Lipid
Multivitamins
Mineral
Parenteral Additive