Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility) - Coggle Diagram
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
ความหมาย= คู่สมรสไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ โดยยังมีความสัมพันธ์ทางเพศกันอย่างสม่ำเสมอ และไม่คุมกำเนิดมาเป็นระยะเวลา1ปี
หรือระยะเวลา6เดือน ในกรณีที่คู่สมรสฝ่ายหญิงที่มีอายุเกิน 35ปีขึ้นไป
แบ่งออกเป็น 2 แบบ
1.ภาวะมีบุตรยากแบบปฐมภูมิ (Primary infertility) คือ ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากพยายามเป็น
ระยะนานกว่า12เดือน
2.ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ (Secondary infertility) คือฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อนอาจจะสิ้นสุดด้วยการแท้งหรือคลอด
หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลยนานกว่า 12เดือน
สาเหตุ
(Female infertility)
• การทำงานของรังไข่ผิดปกติ พบร้อยละ40
• Other พบร้อยละ 5
• Immunological พบร้อยละ 5
• Endometriosis พบร้อยละ20
• ท่อนำไข่ พบร้อยละ 30
(Male infertility)
• Sperm dysfunction พบร้อยละ 80 เช่น เชื้ออสุจิน้อย มีรูปร่างผิดปกติ หรือการเคลื่อนไหวน้อย
• Sexual factors พบร้อยละ 10 เช่น Electile dysfunction,Premature dysfunction
Other พบร้อยละ 10
ภาวะทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียด วิตกกังวล
ความสามารถในการมีบุตร
อายุฝ่ายหญิง 21-25 ปี ความสามารถมีบุตรได้สูง
อายุฝ่ายชาย >55ปี ขึ้นไป จะมีความผิดปกติของอสุจิมากขึ้น
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ อสุจิมีชีวิตอยู่ในท่อนำไข่ได้ประมาณ2วัน *ความถี่ที่เหมาะสมคือ2-3 ครั้งต่อสัปดาห์
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยาก
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
Secondary sex เป็นสาเหตุทำให้มีบุตรยาก เช่น การตรวจต่อมไร้ท่อ
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด เช่น PV, Wet smear, Culture
ตัวมดลูก เช่น PV , Hysterosalpingogram,Endometrium biopsy,Hysteroscopy, U/S
คอมดลูก เช่น PV ดูลักษณะทางกายวิภาค ตรวจมูกคอมดลูก
ท่อนำไข่ เช่น CO2 insufflation หรือ Rubin test, Hysterosalpingogram,Laparoscopy
การประเมินท่อนำไข่ มดลูก และอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
สาเหตุของการมีบุตรยากร้อยละ 30-50
ส่วนใหญ่ของภาวะอุดตันของท่อนำไข่มักเกิดภายหลังการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไส้ติ่งอักเสบ การทำแท้ง ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
การวินิจฉัย
• Endoscopy การส่องกล้อง. Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
• Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
• รังไข่ เช่น BBT,Cox mucous,Endometrium biopsy,Serum progesterone
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ ได้แก่ PCT (postcoital test)
• เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน ได้แก่ Laparoscope
• Hysterosalpingogram (HSG) การฉีดสารทึบรังสีและ X-ray
เต้านม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด,การตรวจฮอร์โมน
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
• การตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในกระแสเลือดที่กึ่งกลางของระยะลูเทียล (Midluteal serum progesterone level) เจาะเลือดเพื่อตรวจในช่วงประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนที่ประจำเดือนมา
• การตรวจวัด basal body temperature หรือ BBT chart
• >10 u/dL =มีการตกไข่ คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติ
• การตรวจการทำงานของอสุจิหรือ Sperm function tests
• การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูกหรือการทำ Poscolital test
• >5 u/dL =มีการตกไข่
การทำ Post coital test
เพื่อดูมูกที่ปากมดลูกและดูความสามารถของอสุจิที่จะว่ายผ่านขึ้นไปโพรงมดลูก
*ระยะเวลาที่เหมาะสมในการตรวจ 1-2วันก่อนการตกไข่
งดมีเพศสัมพันธ์ 2-3 วัน และมารับการตรวจ 9-24 ชั่วโมง
ตรวจโดย =ใช้ Syringe ดูดเอามูกบริเวณ Posterior fornix และดูดจากช่องคอมดลูกและยืดดู
หากเป็นช่วงการตกไข่
มูกจะใสและยืดได้ยาวก่อนที่จะขาดออกจากกัน
มูกที่ปากมดลูกยังทำหน้าที่เป็นแหล่งเก็บกักอสุจิและคอยส่งขึ้นไปในโพรงมดลูก
หากพบตัวอสุจิแต่ไม่มีการเคลื่อนไหวเลย
อาจเกิดการอักเสบของปากมดลูก
โดยเฉพาะตรวจพบมีเม็ดเลือดขาวร่วม/ภาวะที่มูกปากมดลูกมีภูมิต้านทานต่อตัวอสุจิ
การซักประวัติ
การมีเพศสัมพันธ์ การคุมกำเนิด
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด การได้รับยา สารเคมี รังสี
ประวัติการมีประจำเดือน
การแต่งงาน การมีบุตร
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
การซักประวัติ
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การมีเพศสัมพันธ์ และความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต , การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด การได้รับการกระทบกระเทือนที่อวัยวะสืบพันธ์
รูปแบบการดำเนินชีวิต
การตรวจร่างกาย
การตรวจระบบสืบพันธ์
หนังหุ้มปลายองคชาต ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะ ลักษณะรูปร่างอัณฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
การตรวจฮอร์โมน
การตรวจน้ำอสุจิ
การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ
การเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ50 มีการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
รูปร่าง ลักษณะ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 14 มีรูปร่างลักษณะปกติ
จำนวนตัวของตัวอสุจิทั้งหมด มากกว่าหรือเท่ากับ 40ล้านตัว
จำนวนเม็ดเลือดขาว น้อยกว่า1ล้าน ตัวต่อมิลลิลิตร
• ปริมาตร มากกว่าหรือเท่ากับ 2 ml
ความเป็น กรด-ด่าง เท่ากับ 7.2 หรือมากกว่า
• ความหนาแน่นของตัวอสุจิ มากกว่าหรือเท่ากับ 20 ล้านตัว/ml
การมีชีวิต มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 75
การตรวจอสุจิ
ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่านั้น
นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1 ชั่วโมง ภายหลังที่เก็บได้
งดการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวันตรวจ 2-7 วัน
ไม่แนะนำให้มีเพศสัมพันธ์ก่อนแล้วหลั่งข้างนอกหรือใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากอาจมีสารหล่อลื่นที่ทำลายอสุจิได้
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ (Unexplained infertility)
คู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจจนครบตามมาตรฐาน แต่ไม่พบการผิดปกติโดยจะพบร้อยละ 10-15 ของคู่สมรส
การรักษาการมีบุตรยาก
การรักษาแบบขั้นต้น
ไม่เสียค่าใช้จ่ายมาก
การกระตุ้นไข่
การผสมเทียม เป็นวิธีที่เหมาะกับผู้ชายที่เชื้ออ่อนแอ
การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธ์
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง
การนำน้ำอสุจิที่ได้คัดแยกแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่
แพทย์จะใช้ยากระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่าหนึ่งใบเพื่อเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ให้มากขึ้น
3D animation of how IUI works
!!วิธีการนี้ไม่เหมาะกับ!!
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีพังผืดระหว่างไข่กับทางเข้าท่อนำไข่
ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ หรือมีปัญหาที่ทำให้ไข่ไม่สามารถตกเข้าท่อนำไข่ได้
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ เช่น มีน้ำน้อย เคลื่อนไหวผิดปกติ
การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ART)
Gift : คือการนำไข่และเชื้ออสุจิไปใส่ในท่อนำไข่หลังจากกระตุ้นเพื่อให้ไข่สุกแล้วนำมารวมตัวกับอสุจิฉีดผ่านเข้าไปในท่อนำไข่ทันที เป็นการเลียนแบบธรรมชาติ
ฝ่ายหญิงจะต้องมีท่อรังไข่ที่ปกติอย่างน้อย 1 ข้าง
ZIFT: คล้ายการทำเด็กหลอดแก้ว แต่ไข่และเชื้อที่ผ่านจะถูกการผสมกันและเพาะเลี้ยง 1 วัน ถ้าเกิดการปฏิสนธิแล้วจะใส่ตัวอ่อนกลับเข้าสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้อง ใส่ไปในท่อนำไข่
IVF: คือการปฏิสนธินอกร่างกายและการย้ายตัวอ่อน เรียกว่าเด็กหลอดแก้ว ทำคล้าย Gift
การเก็บไข่: แทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่โดยตรงสามารถมองเห็นจาก U/S หรือผ่านทางหน้าทางไปที่รังไข่
การเก็บสเปิร์ม: โดยการหลั่งภายนอก เลือกที่แข็งแรงเท่านั้น ซึ่งถ้าต้องการเก็บไว้ใช้ภายหลังสามารถเก็บไว้ในไนโตรเจนเหลวเป็นเวลาหลายปีโดยไม่เสื่อมสภาพ
!!ข้อบ่งชี้!!
ท่อนำไข่ตีบตัน
มีเยื่อบุพังผืดในอุ้งเชิงกรานขัดขวางทางเดินของไข่เข้าสู่โพรงมดลูก
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
ความผิดปกติของการตกไข่
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
ความผิดปกติของปากมดลูก
สาเหตุจากฝ่ายชาย
Micromanipulation
คือ วิธีรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยากที่มีปัญหาเชื้ออสุจิน้อยมาก ไม่เคลื่อนไหว
ICSI: (Intracytoplasmic Sperm Injection)อิ๊กซี่
การฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรง ทำภายใต้กล้องขยายกำลังสูง
เป็นวิธีที่ทำให้อสุจิไม่ต้องว่ายไปหาไข่ ไม่ต้องเจาะผนังเซลล์ไข่เอง ทำให้อสุจิที่ไม่แข็งแรงปฏิสนธิได้
เป็นวิธีที่เหมาะกับผู้ที่มีสเปิร์มน้อยมากๆ
!!ข้อบ่งชี้!!
Immunological factor
ตัวอสุจิมีรูปร่างผิดปกติ
คู่สมรสที่ผ่านการทำปฏิสนธินอกร่างกายแล้ว ตัวอสุจิไม่สามารถปฏิสนธิได้
Retrograde ejeculation
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี
ตัวอสุจิน้อยมาก