Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจในสตรีตั้งครรภ์ (Heart disease) - Coggle Diagram
โรคหัวใจในสตรีตั้งครรภ์ (Heart disease)
แนวทางการรักษา
ระยะตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับการดูแลร่วมกันระหว่างสูติแพทย์และแพทย์โรคหัวใจ
รับการฝากครรภ์ในหน่วยเสี่ยงสูงในการฝากครรภ์ให้การดูแลดังนี้
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลว
ฝ้าระวังภาวะติดเชื้อ
กรณีที่เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดควรตรวจ
fetal echocardiograrm ในช่วงอายุครรภ์ 18-22 สัปดาห์เพื่อตรวจหาความผิดปกติของทารกในครรภ
เฝ้าระวังภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์โดยทำ ultrasound
ตรวจติดตามสุขภาพของทารกในครรภ์ด้วยการนับลูกดินการทำ Non-stress test (NST) หรือการทำ Biophysical profile (ฺBPP)
ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอหลีกเลี่ยงความเครียด รวมทั้งลดการออกกำลังกายที่รุนแรง
ลดอาหารเค็มไม่ต้องจำกัดเกลือดูแลให้ธาตุเหล็กอย่างเพียงพอเพื่อป้องกันภาวะซีด
ลดอาหารเค็มไม่ต้องจำกัดเกลือดูแลให้ธาตุเหล็กอย่างเพียงพอเพื่อป้องกันภาวะซีด
รับรักษาไว้ในโรงพยาบาล
หญิงตั้งครรภ์มีอาการของโรคหัวใจรุนแรงขึ้นหรือมีภาวะหัวใจอักเสบจากไข้รูห์มาติคอย่างรุนแรงอาจพิจารณาให้ยุติการตั้งครรภ์หรือพิจารณาทำแท้ง (therapeutic abortion)
ระยะคลอด
1.ควรจัดให้นอนศีรษะสูงหรือ semi-recumbent
ประเมินสัญญาณชีพทุก 30-60 นาทีถ้าพบชีพจรมากกว่า 100 ครั้งต่อนาทีอัตราการหายใจมากกว่า 24 ครั้งต่อนาทีร่วมกับอาการเหนื่อยหอบต้องเริ่มให้การรักษาทันที
ให้ยาระงับปวดอย่างเพียงพอ
ให้ออกซิเจนและสารละลายทางหลอดเลือดดำ
ด้วยอัตราจำากัด
ให้ยาdigitalisที่ออกฤทธิ์เร็วและให้ยาขับปัสสาวะ
แนะนำวิธีคลอดโดย การคลอดทางช่องคลอด
9.ในกรณีที่เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวระหว่างการคลอดการรักษาที่สำคัญคือการให้นอนท่า Fowler ให้ออกซิเจนและให้ยา morphine
ติดตามสภาวะทารกในครรภ์ด้วย
external fetal monitoring
การให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกัน bacterial endocarditis จะพิจารณาให้ในรายที่มีความเสี่ยงสูง
บันทึก I/O
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ทำในรายที่มีข้อบ่งชี้
ระยะหลังคลอด
ป้องกันภาวะหัวใจล้มเหลวจากการมีเลือดไหลกลับเข้าสู่ระบบหัวใจในปริมาณมาก
2.ให้มี early ambulation จะช่วยป้องกันการเกิด
ภาวะ thromboombolic
3.ให้ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือดต่อเนื่อง
อีก 6 สัปดาห์
4.เฝ้าระวังภาวะติดเชื้อโดยให้ยาปฏิชีวนะ
5.แนะนำการคุมกำเนิด
ผลของโรคต่อการมารดาและทารก
ผลต่อมารดา
ภาวะ tachyarrythmia ที่เกิดจากการทำงานของหัวใจที่เลวลง
ภาวะปอดบวมน้ำ
ภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
ตกเลือดหลังคลอด ซีด
การติดเชื้อ
Thromboembolism ในมารดาที่เคยผ่าตัดลิ้นหัวใจ
ผลต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้า
คลอดก่อนกำหนด
ทารกมีโอกาสเป็นโรคหัวใจสูง
แท้ง
ทารกตายในครรภ์
ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตัวน้อย
อาการและอาการแสดง
นอนราบไม่ได้ (progressive orthopnea)
ไอเป็นเลือด (hemoptusis)
อาการหอบเหนือย (dyspnea)
หายใจลำบากในตอนกลางคืน (paroxusmal nocturnal dyspnea)
เจ็บหน้าอก (chest pain)
หัวใจโต (cardiomegaly)
อัตราการเต้นของหัวใจผิดปกติอย่างรุนแรง
(severe arrhythmia)
มีอาการเขียว (cyanosis)
และนิ้วปุ่ม (clubbingof fingers)
การประเมินและการวินิจฉัย
ซักประวัติ :
เกี่ยวกับการเจ็บป่วย
อาการและอาการแสดงของโรคหัวใจ
การตรวจร่างกาย : ประเมินสัญญาณชีพอาจพบชีพจรเบาเร็ว ไม่สม่ำเสมอ มี tachycardia (> 100 ครั้ง/นาที) หรือ bradycardia (<60 ครั้ง/นาที
ตรวจทางห้องปฎิบัติการ : ตรวจค่า arterial blood gas เพื่อประเมินปริมาณออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด
หรือภาวะกรด-ด่างในร่างกาย
การตรวจพิเศษ :
การตรวจ electrocardiography , echocardiography , chest X-ray
สาเหตุ
การติดเชื้อ streptococcus ทำให้เกิดลิ้นหัวใจรั่ว
ปัจจัยทางพันธุกรรม
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
1.อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรค ภาวะแทรกซ้อน การรักษาและการปฎิบัติตัว
2.อธิบายให้เห็นความสำคัญของการมาฝากครรภ์
3.แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ 8-10 ชม./วัน หลีกเลี่ยงการทำงานหนัก
แนะนำการรับประทานอาหารและยา
ควรลดแป้ง ไขมัน เค็ม
5.แนะนำให้ดูแลความสะอาดของร่างกาย ปากและฟันอย่างสม่ำเสมอ
6.แนะนำให้สังเกตอาการของภาวะหัวใจล้มเหลว
7.แนะนำเรื่องการนับลูกดิ้น
แนะนำเรื่องการมีเพศสัมพันธ์
ระยะคลอด
1.ดูแลให้นอนพักผ่อนบนเตียงในท่าศีรษะสูง (Fowler' s position) ตะแคงด้านใดด้านหนี่ง
2.ประเมินอาการและอาการแสดงของ
ภาวะหัวใจล้มเหลว
3.ประเมิน V/S ทุก 15-30 นาที
4.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและการเต้นของหัวใจทารกทุก 1 ชม.
5.รายงานแพทย์ให้ยาระงับปวด
6.ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดเป็นระยะ
8.ดูแลความสุขสบายทั้งกายและใจ
ดูแลให้ได้รับอาหาร น้ำ หรือสารละลายทางหลอดเลือดดำ
บันทึก I/O
11.เตรียมอุปกรณ์ทำคลอด
ระยะหลังคลอด
1.ป้องกันภาวะช็อกและภาวะหัวใจล้มเหลว จากการไหลกลับของเลือดเข้าหัวใจ
2.ดูแลให้พักผ่อนและได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
3.ประเมิน V/S ทุก 15 นาที 4 ครั้ง 30 นาที 2 ครั้ง หลังจากนั้นทุก 1ชม. จนอาการคงที่
4.เฝ้าระวังภาวะหัวใจล้มเหลว
5.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
6.ประเมินปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดและแผลฝีเย็บ
7.ให้คำแนะนำในการปฎิบัติตัวหลังคลอด