Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก - Coggle Diagram
ภาวะมีบุตรยาก
ความสามารถในการมีบุตร
ฝ่ายหญิงอายุ 21-25 ปี ความสามารถมีบุตรได้สูง
ฝ่ายชาย อายุมากกว่า 55 ปี จะมีความผิดปกติของอสุจิ
ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
ประวัติการมีประจำเดือน
การผ่าตัด การแต่งงานและการมีบุตร
การมีเพศสัมพันธ์และการคุมกำเนิด
ลักษณะนิสัยบางประการ รูปแบบการดำเนินชีวิต ลักษณะนิสัยส่วนตัว
การได้รับยา รังสี สารเคมี และอุบัติเหตุ
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
โรคคางทูม โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธุ์ โรคเบาหวานฯ
การรับยา รังสี สารเคมี
ความถี่ในการมีเพศสัมพันธุ์และการได้รับอุติเหตุ การผ่าตัด การกระทบกระเทือนที่อวัยวะสืบพันธุ์
รูปแบบการดำเนินชีวิตและลักาณะนิสัยส่วนตัว
การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
GIFT
การนำไข่และเชื้ออสุจิไปใส่ในท่อนำไข่ หลังจากนั้นกระตุ้นไข่เพื่อให้สุกหลายใบ และเจาะดูดออกมาได้3-4ใบมารวมกับอสุจิ จากนั้นฉีดเข้าที่ท่อนำไข่
ZIFT
คล้ายกับทำเด็กหลอดแก้ว
ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วจะถูกนำมาผสมกันและเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 1 วัน ถ้าเห็นว่าเกิดการปฏิสนธิแล้วจะใส่ตัวอ่อนกลับเข้าสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้อง
IVF
การปฏิสนธินอกร่างกายและการย้ายตัวอ่อนหรือทั่วๆไปเรียกว่า เด็กหลอดแก้ว
นำไข่และอสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้ว นำมาผสมกันเพื่อปฏิสนธินอกร่างกาย โดยเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ เพื่อให้ตัวอ่อนแบ่งตัว 4-8 เซลล์ เลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 2-5 วัน
การเก็บไข่
โดยแทงเข็มผ่านทางช่องคลอดเข้าสู่รังไข่โดยตรง
การเก็บสเปิร์ม
หลั่งภายนอก เลือกสเปิร์มที่แข็งแรงเท่านั้น
ข้อบ่งชี้
ท่อนำไข่ตีบตัน มีเยื่อพังพืดในอุ้งเชิงกราน เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ ความผิดปกติของปากมดลูก
ความผิดปกติของการตกไข่ สาเหตุจากฝ่ายชาย ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ
Micromanipulation
วิธีการรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยาก ซึ่งมักจะมีปัญหาทางด้านเชื้ออสุจิจำนวนน้อยมาก ไม่เคลื่อนไหว โดยการแทงเข็มเล็กๆเจาะเปลือกไข่ แล้วให้เชื้ออสุจิวิ่งผ่านรูที่เจาะ
ICSI
การฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรง ซึ่งทำภายใต้กล้องขยายกำลังสูง หลังจากเซลล์ไข่ถูกฉีดอสุจิเข้าไปจะเกิดการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อนขึ้น
ข้อบ่งชี้
ตัวอสุจิน้อยมาก
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี
ตัวอสุจิมีรูปร่างผิดปกติ
คู่สมรสที่ผ่านการทำการปฏิสนธินอกร่างกาย ตัวอสุจิกับไข่ไม่สามารถปฏิสนธิกันได้
Retrograde ejeculation
Immunological factor
ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ได้แม้ในรายที่มีปริมาณอสุจิน้อยกว่า 100 ตัว
คู่สมรสแต่งงาน 3 ปี ยังไม่มีบุตร ฝ่ายหญิงเคยบันทึก basal body temperature พบกราฟมี อุณหภูมิวันที่ 14-15 ของทุกเดือน ลักษณะมูกที่ปากมดลูก เหนียวใส ยืดได้มาก ท่อนำไข่ปกติ ฝ่ายชายตรวจอสุจิ 10 ล้านตัว/ซีซี เคลื่อนไหว 60%
สาเหตุ
ฝ่ายหญิง(Female infertility)
ท่อนำไข่ ร้อยละ 30
Endometriosis ร้อยละ 20
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ ร้อยละ 40
Immunological ร้อยละ 5
อื่นๆ ร้อยละ 5
ฝ่ายชาย(Male infertility )
Sperm dysfunction ร้อยละ 80 เช่น เชื้ออสุจิน้อย รูปร่างผิดปกติ หรือเคลื่อนไหวน้อย
Sexul factors ร้อยละ 10 เช่น Electile dysfunction,Premature dysfunction
อื่นๆ ร้อยละ 10
ด้านจิตใจ
ความเครียด ความวิตกกังวล
ภาวะมีบุตรยากแบบปฐมภูมิ(Primary infertility)
การที่ฝ่ายหญิงยังไม่เคยตั้งครรภ์ จากที่พยายามมาเป็นเวลานานกว่า 12 เดือน
ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ(Secondaly infertility)
ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อนอาจสิ้นสุดด้วยการแท้งหรือการคลอดก็ตาม หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลย เป็นเวลานานกว่า12 เดือน
การรักษาการมีบุตรยาก
การรักษาขั้นต้นไม่เสียค่าใช้จ่าย
การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธ์
การกระตุ้นไข่
การผสมเทียม
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง(Intra-uterine insemintion)
การนำน้ำอสุจิที่ได้รับการคัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่
3D animation of how IUI works
วิธีการนี้ไม่่เหมาะกับ
ท่อนำไข่เสียหาย เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ หรือปัญหาอื่นๆที่ทำให้ไข่ไม่สามารถตกเข้าท่อ
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือมีพังผืด
ผู้ชายที่มีปัญหาอสุจิ เช่น มีน้ำน้อย เคลื่อนไหวผิดปกติ
ความหมาย
การที่คู่สมรสไม่สามารถมีการตั้งครรภ์ได้ โดยมีความสัมพันธ์ทางเพศสม่ำเสมอและไม่คุมกำเนิดมาเป็นเวลา1ปี
หรือระยะเวลา 6 เดือนที่ฝ่ายหญิงมีอายุ
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายฝ่ายชาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด
ตรวจฮอร์โมน
ตรวจอสุจิ
ไม่แนะนำให้มีเพศสัมพันธุ์ก่อนแล้วหลั่งนอกหรือใช้ถุงยางอนามัยอาจมีสารทำลายอสุจิได้
งดการมีเพศสัมพันะุ์ก่อนตรวจ2-7 วัน
น้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1 ชั่วโมง
ตรวจร่างกายทั่วไปและการตรวจระบบสืบพันธุ์
หนังหุ้มปลายองคชาต ลักษระและรูเปิดของท่อปัสสาวะ ลักษณะรูปร่างอัณฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
การตรวจร่างกายฝ่ายหญิง
การตรวจต่อมไร้ท่อ
Hypothalamus,Pituitary,Thyroid
การตรวจร่างกายทั่วไป
โรคทางอายุรกรรมที่ทำให้มีบุตรยาก
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
วัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในกระแสเลือดที่กึ่งกลางระยะลูเทียล เจาะเลือด 1 สัปดาห์ก่อนประจำเดือนมา
รังไข่ ได้แก่ BBT,Cx mucous,Endometrium biopsy,Serum progesterone
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ ได้แก่ PCT
ตัวมดลูก ได้แก่ PV,Hysterosalpingogram,Endometrium biopsy,Hysteroscopy,U/S
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด ได้แก่ PV, Wet smear
คอมดลูก ได้แก่ PV ดูลักษณะทางกายวิภาค ตรวจมูกคอมดลูก
ท่อนำไข่ ได้แก่ CO2 insufflation หรือ Rubin test,Hysteroscopy,Laparoscope
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน ได้แก่ Laparoscope
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ การตรวจเลือดทั่วๆไป การตรวจฮอร์โมน ฯ
การทำ post coitl test
ดูมูกที่ปากมดลูกและความสามารถของอสุจิที่จะว่ายผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูก