Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility), iui, unnamed, ivf, นางสาวศิลป์ศุภา ประถม Sec…
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
ความหมาย
การที่คู่สมรสไม่สามารถมีการตั้งครรภ์ได้โดยที่มีความสัมพันธ์ทางเพศกันอย่างสม่ำเสมอและไม่ได้คุมกำเนิดเป็นระยะเวลา 1 ปี
หรือในระยะ 6 เดือนในกรณีที่ฝ่ายหญิงมีอายุ 35 ปีขึ้นไป
ประเภท
ภาวะมีบุตรยากแบบปฐมภูมิ(Primary infertility) หมายถึง การที่ฝ่ายหญิงไม่เคยตั้งครรภ์ หลังจากที่ได้ พยายามแล้วเป็นระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ(Secondary infertility) หมายถึง การมีบุตรยากที่ฝ่ายหญิงเคยตั้งครรภ์มาก่อนอาจจะสิ้นสุดลงด้วยการแท้ง หรือการคลอด หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลยเป็น ระยะเวลานานกว่า 12 เดือน
การรักษาภาวะมีบุตรยาก
การรักษาแบบขั้นต้น (Conventional)
การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธุ์
(Timeingintercourse)
การกระตุ้นไข่(Ovulation induction)
การผสมเทียม
การใช้เทคโนโลยีช่วยในการเจริญพันธุ์ (ART)
Gamete Intrafallopian Transfer (GIFT)
การนำไข่และเชื้ออสุจิไปใส่ในท่อนำไข่หลังจากกระตุ้นไข่เพื่อชักนำให้ไข่สุกหลายใบ และเจาะดูดไข่ออกมาแล้วนำไข่ที่ได ้3-4 ใบมารวมกับตัวอสุจิที่ผ่านการคัดแยกแล้ว จากนั้นนำฉีดผ่านเข้าไปในท่อนำไข่
ข้อบ่งใช้
ฝ่ายหญิงจะต้องมีท่อรังไข่ที่ปกติ อย่างน้อย 1 ขา้ง
ไม่มีปัญหาที่ปีกมดลูก
Intra-uterine insemination (IUI)
การนำอสุจิที่ได้คัดแยกมาแล้วฉีดเข้าไปในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่ตัวอสุจิว่ายจาก โพรงมดลูกไปทางท่อนำไข่และผสมกับไข่ด้วยตัวเองต่อไปแพทย์ใช้ยากระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่าหนึ่งใบเพื่อเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ให้มากขึ้น
ข้อห้าม
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตัน
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
ผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องน้ำอสุจิ เช่น มีจำนวนน้อย เคลื่อนไหวผิดปกติ
Zygote Intrafallopian Transfer (ZIFT)
คล้ายกัยการทำเด็กหลอดแก้วแต่ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วจะถูกนำมาผสมกันและเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 1 วันถ้าเห็นว่าเกิดการปฏิสนธิแล้วจะใส่ตัว อ่อนกลับเข้าสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้องใส่ ไปในท่อนำไข่
ข้อบ่งใช้
เชื้ออสุจิน้อยกว่าปกติ
ท่อนำไข่ทำงานไม่ปกติแต่ไม่ตัน มีผังผืดมาก
In Vitro Fertilization (IVF)
นำไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วนำมาผสมกันเพื่อให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกายโดยเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ เพื่อให้มีการแบ่งตัวจนเป็นตัวอ่อนในระยะ 4-8 เซลล์ ใช้เวลาเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ ประมาณ 2-5 วัน จากนั้นนำตัวอ่อนที่ได้ใส่เข้าไปในโพรงมดลูกเพื่อให้มีการเจริญเติบโตต่อไป
ข้อบ่งใช้
ท่อนำไข่อุดตันทั้ง 2 ข้าง
มีผังผืดในอุ้งเชิงกราน
อสุจิไม่แข็งแรง
Intracytoplasmic Sperm Injection (ICSI)
คัดอสุจิที่แข็งแรงสมบูรณ์เพียงตัวเดียวนำฉีดเข้าไปในไข่โดยตรงวิธีนี้ทำให้อสุจิไม่ต้องว่ายไปหาไข่ไม่ต้องเจาะผนังเซลล์ไข่เองทำให้อสุจิที่ไม่แข็งแรงสามารถปฏิสนธิกับไข่ได้
ข้อบ่งใช้
ตัวอสุจิน้อยมาก (Oligozoospermia)
ตัวอสุจิเคลื่อนไหวไม่ดี(Asthenozoospermia)
ตัวอสุจิมีรูปร่างผิดปกติ (Teratozoospermia)
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
การซักประวัติ
ประวัติการมีประจำเดือน
การแต่งงานและการมีบุตร
การมีเพศสัมพันธ์การคุมกำเนิด
ลักษณะนิสัยบางประการรูปแบบการดำเนินชีวิต
การได้รับยา รังสี สารเคมี การได้รับ อุบัติเหตุและการผ่าตัด
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
Secondary sex
ตรวจต่อมไร้ท่อ (Hypothalamus, Pituitary, Thyroid)
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด ได้แก่ PV, Wet smear, Culture
คอมดลูกไดแ้ก่ PV ดูลักษณะทางกายวภิาค ตรวจมูกคอมดลูก
ตัวมดลูก ได้แก่ PV, Hysterosalpingogram, Endometrium biopsy, Hysteroscopy, U/S
ท่อนำไข่ ได้แก่ Rubin test Hysterosalpingogram, Laparoscope
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
การตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในในกระแสเลือดที่กึ่งกลางของระยะลูเทียล
˃5 μ/dl = มีการตกไข่
˃10 μ/dl=มีการตกไข่คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติดว้ย
การตรวจปัจจัยด้านปากมดลูก
postcoital test เพื่อดมูกที่ปากมดลกูและดูความสามารถของอสุจิที่จะว่ายผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูก
หากมูกสามารถยืดได้ยาวมากกว่าหรือ เท่ากับ 10 ซม. และหากปล่อยให้แห้งจะตกผลึก เป็นรูปใบเฟิร์นจะแปลผลว่ามีการตกไข่
หากพบอสุจิที่เคลื่อนไหวไปข้างหน้าเกิน5 ตัว/HPF แสดงว่าอสุจิสามารถว่ายผ่านมูกขึ้นไปได้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดทั่วๆไป
การตรวจฮอรโ์มนฯ
การวินิจฉัย
Hysterosalpingogram(HSG) การฉีดสารทึบรังสีและเอก็ซเ์รย์
Endoscopy การส่องกล้อง
Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
รังไข่ ได้แก่ BBT, Cx mucous, Endometrium biopsy, Serum progesterone
เยื่อผังผืดในช่องเชิงกราน ได้แก่ Laparoscope
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ PCT (postcoital test)
เต้านม
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต โรคคางทูม โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ เบาหวาน โรคต่อมไร้ท่อ
ลักษณันิสัย (การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์) รูปแบบการดำเนินชีวิต
การได้รับยา รังสี สารเคมี การได้รับ อุบัติเหตุและการผ่าตัด
การมีเพศสัมพันธุ์และความถี่ในการมีเพศสมัพนัธ์
การตรวจร่างกาย
หนังหุ้มปลายองคชาต ลักษณะและรเูปิดของท่อปัสสาวะลักษณะรูปร่างอัณฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอณัฑะ(Varicocele) Hydrocele
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด ทั่วๆไป การตรวจฮอร์โมน
การตรวจน้ำอสุจิ
ปริมาณน้ำเชื้อ (Vol) 2 cc. หรือมากกว่า
ความเป็นกรด-ด่าง (pH) 6-8
จำนวนตัวอสุจิ ต่อ ซีซี (Count/cc.) 20 ลา้นตวั/ซีซี หรือมากกว่า
การเคลื่อนไหว (Motility) 50 % หรือมากกว่า
ลักษณะรูปร่าง (Morphoiogy) 50 % ปกติหรือมากกว่า
การมีชีวิต (Viability) 50 % มีชีวิตหรือมากกว่า
ปริมาตร (volume) ≥ 2มิลลลิติร
จำนวนของตัวอสุจิทั้งหมด≥ 40ล้านตัว
สาเหตุจากฝ่ายหญิง(Female infertility)
การทำงานของรังไข่ผิดปกติพบร้อยละ 40
ท่อนำไข่พบร้อยละ 30
Endometriosis พบร้อยละ 20
Immunological พบรอ้ยละ 5
Other พบรอ้ยละ 5
สาเหตุจากฝ่ายชาย(Male infertility)
Sexual factors พบร้อยละ 10 เช่น Electile dysfunction, Premature dysfunction
Other พบร้อยละ 10
Sperm dysfunction พบร้อยละ 80 เชื้ออสุจิน้อย มีรูปร่าง ผิดปกติ หรือมีการเคลื่อนไหวนอ้ย
ภาวะทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียดความ วิตกกังวล ก็เป็นสาเหตุให้เกิดภาวะมีบุตรยากได้
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ (Unexplained infertility)
คู่สมรสมีบุตรยากที่ได้รับการตรวจหาสาเหตุของการมีบุตรยากแล้วจนครบตามมาตรฐานแล้วแต่ไม่พบความผิดปกติ โดยจะพบได้ร้อยละ10 – 15 ของคู่สมรสทั้งหมด
นางสาวศิลป์ศุภา ประถม Sec 2B เลขที่ 75 รหัส 613601183