Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบการวิจัย (Research Design), นางสาวญาณิศา มลาชู รหัสนักศึกษา…
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
หลักการของการออกแบบการวิจัย
ความตรง (Validity)
1.1 ความตรงจากวิธีการทางสถิติ (Statistical Conclusion Validity)
1.2 ความตรงภายใน (Internal Validity): ตัวแปรอิสระ; history, maturation, testing, instrument ect.
1.3 ความตรงภายนอก (External Validity): กลุ่มตัวอย่าง; population, ecological
1.4 ความตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity)
การควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน (Control Extraneous Variables)
ตัวแปรแทรกซ้อนที่เป็นปัจจัยภายนอก (External Factors): สิ่งแวดล้อม, เวลา
ตัวแปรแทรกซ้อนภายในกลุ่มตัวอย่าง (Intrinsic to the Subjects): การสุ่ม, การจับคู่
ตัวแปรแทรกซ้อนจากผู้ทดลองและกลุ่มตัวอย่าง (Experimenter and Subjects): ผู้ร่วมวิจัย, single-blind,double-blinfก
หลักการ แมกซ์–มิน-คอน
(Max-Min-Con Principle)
การทำให้เครื่องมือการวิจัยมีคุณภาพ
การลดความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการดำเนินการวิจัยให้น้อยที่สุด Con: Control of Extraneous Variables
กระบวนการสุ่ม(Randomization)
การจับคู่ (Matching)
การกำจัดตัวแปรแทรกซ้อน (Elimination)
การนำตัวแปรแทรกซ้อนเป็นตัวแปรที่ศึกษา
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกแบบการวิจัย
เลือกรูปแบบการวิจัย
ความเป็นไปได้ในการวิจัย (Feasibility)
ระดับของการอธิบายความเป็นเหตุเป็นผล (Causality)
คำนึงถึงหลักการออกแบบการวิจัย (Max-Min-Con Principle)
ไม่ขัดต่อหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
ประเภทของการออกแบบวิจัย
แบ่งตามระยะเวลา
การวิจัยแบบตัดขวาง (Cross-sectional research) : Retrospective study
การวิจัยแบบระยะยาว (Longitudinal research) : Prospective study
แบ่งตามประโยชน์ของผลการวิจัยที่นำไปใช้
การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (Basic/pure research)
การวิจัยประยุกต์ (Applied research) การวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action research)
การวิจัยและพัฒนา (Research & development: R & D)
แบ่งตามลักษณะของเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research)
การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research)
การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed method research)
แบ่งตามช่วงเวลาที่ศึกษาวิจัย
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical research)
การวิจัยร่วมสมัย (Contemporaneous research)
การวิจัยเชิงอนาคต (Futuristic research)
แบ่งตามโครงสร้างของงานวิจัย
การวิจัยแบบไม่ทดลอง (Non-experimental research)
การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research)
การวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive research)
การวิจัยเชิงความสัมพันธ์ (Correlational research)
Correlational research เป็นการศึกษาที่ทำความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์หรือตัวแปร ๒ ตัว
Prediction research ป็นการศึกษาเพื่อมุ่งเน้นการคาดการณ์
Path analysis study เป็นการศึกษาเพื่อมุ่งทดสอบทฤษฏีโดยใช้
เทคนิควิเคราะห์เส้นทาง
การวิจัยแบบทดลอง (Experimental research)
การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research)
การวิจัยที่เปรียบได้กับการวิจัยแบบทดลอง (Comparative experimental research)
การวิจัยแบบก่อนทดลอง (Pre-experimental research)
การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง (True experimental research)
เกณฑ์การออกแบบวิจัย
การออกแบบการวิจัย
การออกแบบการวัดค่าตัวแปร (Measurement Design)
วัตถุประสงค์ของการวัดค่าตัวแปร
โครงสร้าง และคำนิยาม
ระดับการวัดของข้อมูล
พัฒนาและตรวจสอบเครื่องมือ
วิธีการและขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
รูปแบบ วิธีวัดค่าตัวแปร หรือการควบคุมตัวแปรเกิน
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
การเลือกใช้สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics)
การเลือกใช้สถิตเชิงอ้างอิง (Inferential Statistics)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling Assignment)
กำหนดวิธีการสุ่มตัวอย่าง
กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
ขั้นตอนการออกแบบการวิจัย
การกำหนดปัญหาการวิจัย
การกำหนดขอบเขตการวิจัย
การกำหนดแนวทางการวิจัย
3.1 การออกแบบวัดตัวแปร
ศึกษาลักษณะตัวแปร
รูปแบบและวิธีควบคุมตัวแปร
นิยามตัวแปรและวิธีการวัดค่าตัวแปร
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
กำหนดวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
3.2 การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง
นิยามประชากร
วิธีการสุ่มตัวอย่าง
กำหนดขนาดตัวอย่าง
3.3 การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
วิธีจัดกระทำกับข้อมูล
วิธีการวิเคราะห์ข้อ
2.1 กรอบประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา
2.2 ประเภทและจำนวนตัวแปรที่ศึกษา
2.3 เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา
2.4 ช่วงระยะเวลาที่ทำการศึกษา
2.5 พื้นที่ที่ต้องการศึกษา
1.1 การวิจัยเชิงทดลอง
1.2 การวิจัยแบบอื่นๆ
การออกแบบการวิจัย (Research Design) หมายถึง การวางรูปแบบการวิจัย กำหนดกิจกรรมเพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบของคำถามการวิจัย โดยรูปแบบหรือประเภทของการวิจัยจะต้องเหมาะสมกับปัญหาวิจัยที่ศึกษา
จุดมุ่งหมายของการออกแบบการวิจัย
ได้คำตอบของปัญหาการวิจัยที่ถูกต้อง แนวคิด ทฤษฎี วิทยาศาสตร์
ควบคุมความแปรปรวนของตัวแปร Max-Min-Con
การวัดตัวแปรถูกต้อง ตัวแปร นิยาม
การดำเนินการวิจัยเป็นระบบ กระบวนการวิจัย
ความประหยัด งบประมาณ คน เวลา
ลักษณะของแบบการวิจัยที่ดี
ปราศจากความมีอคติ (Freedom from Bias)
ปราศจากความสับสน (Freedom of Confounding)
สามารถควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้ (Control of Extraneous Variables)
มีการเลือกใช้สถิติที่ถูกต้องในการทดสอบสมมุติฐาน (Statistical Precision for Testing Hypothesis)
นางสาวญาณิศา มลาชู รหัสนักศึกษา 613101026 เลขที่ 26