Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility) :silhouettes:, นางสาวอนัญญา พรมชัย เลขที่…
ภาวะมีบุตรยาก
(Infertility)
:silhouettes:
สาเหตุ
จากฝ่ายหญิง (Female infertility)
การทำงานของรังไข่ผิดปกติ พบร้อยละ 40
ท่อนำไข่ พบร้อยละ 30
Endometriosis พบร้อยละ 20
Immunological พบร้อยละ 5
Other พบร้อยละ 5
จากฝ่ายชาย (Male infertility)
Sperm dysfunction พบร้อยละ 80
เชื้ออสุจิ น้อย
มีรูปร่างผิดปกติ
มีการเคลื่อนไหวน้อย
Sexual factors พบร้อยละ 10
Electile dysfunction
Premature dysfunction
Other พบร้อยละ 10
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายหญิง
ซักประวัติ
ประวัติการมีประจำเดือน
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด
การแต่งงานและการมีบุตร
การมีเพศสัมพันธ์
การคุมกำเนิด ลักษณะนิสัยบางประการ
รูปแบบการดำเนินชีวิต
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การตรวจร่างกาย
ทั่วไป
Secondary sex
โรคทางอายุรกรรม
การตรวจต่อมไร้ท่อ
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี
เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด
คอมดลูก
ตัวมดลูก
ท่อนาไข่
การประเมินท่อนำไข่มดลูกและอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
การวินิจฉัย
Hysterosalpingogram (HSG)
การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซ์เรย์
Endoscopy
การส่องกล้อง
Laparoscopy
ตรวจในอุ้งเชิงกราน
Hysteroscopy
ตรวจโพรงมดลูก
รังไข่
Cx mucous
Endometrium biopsy
Serum progesterone
เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน
Laparoscope
ภูมิต้านทานตัวอสุจิ
PCT (postcoital test)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจความผิดปกติ
ของการตกไข่
midluteal serum progesterone level
ตรวจในช่วงประมาณ 1
สัปดาห์ก่อนที่ประจำเดือนมา
˃5 μ/dl = มีการตกไข่
˃10 μ/dl=มีการตกไข่คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติด้วย
การทำpost coital test
ใช้ syringe เล็กๆดูด
ดูมูกที่ปากมดลูกและดู
ความสามารถของอสุจิที่
จะว่ายผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูก
ตรวจได้แก่1-2 วันก่อนการตกไข่
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในฝ่ายชาย
การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
รูปแบบการดำเนินชีวิต
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การมีเพศสัมพันธ์ และความถี่
การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจระบบสืบพันธ์
หนังหุ้มปลายองคชาต
ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะ
ลักษณะรูปร่างอัณฑะ
หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจวิเคราะห์น้าอสุจิ
ปริมาตร (volume) ≥ 2มิลลิลิตร
ความหนาแน่นของตัวอสุจิ ≥20 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
จำนวนของตัวอสุจิทั้งหมด ≥40 ล้านตัว
การเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ ≥ ร้อยละ 50
รูปร่าง ลักษณะ ≥ ร้อยละ 14 ปกติ
จำนวนเม็ดเลือดขาว <1 ล้านตัวต่อมิลลิลิตร
ความเป็นกรด-ด่าง (pH) = 7.2 หรือมากกว่า
การมีชีวิต (vitality) ≥ ร้อยละ 75
การตรวจอสุจิ
งดการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวันตรวจ2-7วัน
นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1ชั่วโมงภายหลังที่เก็บได้
ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่านั้น
การรักษาการมีบุตรยาก
การรักษาแบบขั้นต้น
Timing intercourse
Ovulation induction
การผสมเทียม
Intra-uterine insemination (IUI)
การฉีดน้าอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง
กระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่าหนึ่งใบ
3D animation of how IUI works
assisted reproductive technologies: ART
การกระตุ้นการตกไข่
การให้GnRHเป็นระยะ
กระตุ้นการผลิตFSH และLH
มีผลให้มีการตกไข่มากกว่า1 ใบ
ไข่ออกมาเลือกใบที่แข็งแรงและนำมาใช้ตามการปฏิสนธินอกร่างกาย
GIFT
การนำไข่และเชื้ออสุจิไปใส่ในท่อนำไข่
เจาะดูดไข่ออกมาแล้วนำไข่ที่ได้ 3-4 ใบมารวมกับตัวอสุจิที่ผ่านการคัดแยกแล้ว
จากนั้นนำฉีดผ่านเข้าไปในท่อนำไข่ทันที
ZIFT
ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วจะถูกนำมาผสมกันและเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ1วัน
เกิดการปฏิสนธิแล้วจะใส่ตัวอ่อนกลับเข้าสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้อง
คล้ายกับการทำเด็กหลอดแก้ว
IVF
ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้ว จะถูกนำมาผสมกันเพื่อให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกาย
เพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 2-5 วัน
นำตัวอ่อนที่ได้ใส่เข้าไปในโพรงมดลูกเพื่อให้มีการเจริญเติบโตต่อไป
ICSI
การฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรง
ทำให้อสุจิที่ไม่แข็งแรงสามารถปฏิสนธิกับไข่ได้
ภายใต้กล้องขยายกำลังสูง
นางสาวอนัญญา พรมชัย เลขที่ 91 ชั้นปี 2B