Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพของไทย - Coggle Diagram
ระบบสุขภาพของไทย
ระบบสุขภาพ
- กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู รับมือกับโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และภัยพิบัติ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพกายและจิตที่ดี
- ระบบการจัดการทั้งมวลที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
โครงสร้างและองค์ประกอบ
-
องค์ประกอบย่อย
1.ระบบบริการ หมายถึง ด้านส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสุขภาพ อย่างมีคุณภาพ
2.ระบบผู้ให้บริการ หมายถึง กำลังคนที่เพียงพอ มีความรู้
3.ระบบผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ หมายถึง เวชภัณฑ์ วัคซีน อุปกรณ์การวินิจฉัย และเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่มีมาตรฐาน
4.ระบบการเงินการคลัง หมายถึง ความครอบคลุม ลดภาระการใช้จ่ายของภาครัฐและส่วนบุคคล ผ่านการระดมเงินทุน
5.ระบบสารสนเทศ หมายถึง ความพร้อมและการแบ่งปันข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา แนวโน้ม ความต้องการทางการแพทย์และสาธารณสุข
6.ระบบอภิบาล หมายถึง การกำกับดูแลให้องค์กรสุขภาพดำเนินภารกิจอย่างเป็นธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นไปตามนโยบาย
-
ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์
การเข้าถึง - สุขภาพดี
ความครอบคลุม – ตอบสนองฉับไว
คุณภาพ – ความมั่นคงด้านการเงิน สังคม
ความปลอดภัย – ประสิทธิภาพ
-
ระดับของระบบบริการสุขภาพ
- ระดับปฐมภูมิ (Primary care)
- เป็นสถานบริการสุขภาพอยู่ใกล้ประชาชนมากที่สุด
- ระดับทุติยภูมิ( secondary care)
- ระดับตติยภูมิ (Tertiary care)
- เป็นโรงพยาบาลที่ให้บริการรักษาพยาบาลในโรคที่มีความสลับซับซ้อน
-
ระบบสุขภาพชุมชนไทย
-
-
-
ทำให้เกิดการพึ่งตนเองด้านสุขภาพของชุมชน โดยกลุ่มคนต่างๆ ในชุมชนจะได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง
-
-
ระบบสุขภาพอำเภอ
จุดเด่น
- เชื่อมต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพจากนโยบายสู่การปฏิบัติ
- ประสานและกระจายทรัพยากร การดูแลครอบคลุม เป็นธรรม
- มีการบูรณาการทุกภาคส่วนในพื้นที่ การทำงานเป็นระบบ
เป้าหมาย
- คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น พึ่งตนเองได้ ชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน
- สถานะสุขภาพของประชาชนดีขึ้น สามารถจัดการปัญหาที่มีในชุมชนด้วยตนเอง ลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
- เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการสุขภาพ ชุมชนเข้มแข็งพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
- บริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐาน ผู้รับบริการพึงพอใจ ผู้ให้บริการมีความสุข
หลักการดำเนินงาน
1.การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ (Unity District Health System)
ให้ความสำคัญกับ work relationship นำสู่ผลลัพธ์ด้านสุขภาพที่ดี
2.การมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน (Community Participation)
ร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมประเมินผล
3.ทำงานจนเกิดคุณค่า ทั้งผู้ให้และผู้รับ (Appreciation and Quality)
เน้นสร้างคุณค่า ความสุข ไม่เน้นปริมาณ
4.แบ่งปันทรัพยากรและบุคลากร (Resource sharing and human development )
- ให้บริการสุขภาพที่จำเป็น สอดคล้องกับบริบท วัฒนธรรม(Essential care)
-