Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ เบาหวานขณะตั้งครรภ์, 098746541023117-696x447,…
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
การรักษาการพยาบาล
ระยะคลอด
1 ระยะเวลาคลอดที่ดีที่สุดคือครรภ์ใกล้ครบกำหนด ในรายที่ควบคุมเบาหวานได้ดีควรทำ
คลอดเมื่ออายุครรภ์ครบ 38 สัปดาห์2
2.ในกรณีที่มีการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด อาจพิจารณายับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดเหมือน
ทั่วไป แต่ต้องหลีกเลี่ยงการให้ beta - sympathomimatic เนื่องจากยาเหล่านี้จะทำให้ประสิทธิภาพการ
ควบคุมน้ำตาลในมารดาลดลงและทำให้เกิดketoacidosis ได้ง่าย การใช้สเตรีย์รอยเพื่อเร่งพัฒนาการ
ของปอดก็ควรใช้อย่างระมัดระวัง
3 ในรายที่ผลการตรวจสุขภาพทารกในครรภ์บ่งบอกว่าทารกอยู่ในกาวะอันตราย ควรให้
คลอดทันทีและในรายที่มีกาวะแทรกซ้อนบางอย่าง เช่น severe pre - eclmpsia ต้องให้คลอดทันที
-
5 การควบคุมน้ำตาลในระยะคลอด ทั้งการคลอดทางช่องคลอดหรือผ่าตัดคลอด มารดาควร
ได้รับน้ำและน้ำตาลอย่างเพียงพอ โดยให้สารน้ำทางหลอดเลือด
ดำเพื่อหมีระลับน้ำตาลในลือคอยู่ระหว่าง
80 - 120 มก/คล. ควรดวจระดับน้ำตาลในเลือดทุก 1- 2 ชั่วโมง และให้อินสุสินตามระดับน้ำตาลในเลือด โดยเปลี่ยนเป็น regular insulin หยดเข้าทางหลอดเลือดและหยุดให้อินสุลินเมื่อรกคลอด
6 ตรวจหาการฉีกขาดของช่องทางคลอด ซึ่งมีโอกาสเกิดมากขึ้นเนื่องจากทารกตัวโตเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอดในรายที่คลอดทางช่องคลอดและระวังการคิดเชื้อหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของหญิงตั้งครรภ์ ในระหว่างตั้งครรภ์หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับ
ดูแลเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้เหมาะสม
-
-
-
-
-
-
-
ระยะหลังคลอด
1 ในรายที่เป็น overt DM จำเป็นต้องเน้นการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดต่อไป การให้
อินซูลินต้องระมัดระวังเพราะความต้องการอินสุลินจะลดลงมากเมื่อเทียบกับก่อนคลอด
2 การคุมกำเนิด หลีกเสียงยาเม็ดคุมกำนิดที่มีเอสโตรเจนปริมาณสูง เนื่องจากทำให้กร
ควบคุมเบาหวานยากขึ้น การใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดที่
โปรเจสเตอโรนอย่างเดียว ยาฉีดคุมกำเนิดและยาฝัง
คุมกำเนิดสามารถใช้ได้ เนื่องจากมีผลต่อคาร์โบไฮเดรตมตาบอลิซึมน้อย สำหรับห่วงอนามัยไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยเบาหวานเนื่องจากมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานได้ง่าย
3 การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา สามารถให้ได้แต่ควรแนะนำให้มารดารับประทานอาหารเพิ่ม
อีกประมาณ 400 กิโลแคลอรี่ จากที่ควรได้รับในช่วงที่ไม่ได้ตั้งครรภ์และควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาเม็ดลด ระดับ
น้ำตาลในช่วงที่ให้นมบุตร
-
-
ผลกระทบของโรคต่อมารดา
-
3.ครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios) พบได้ประมาณร้อยละ 18 ของหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน
สาเหลุยังทราบไม่แน่จัดแต่ชื่อว่าเกิดการที่ทารกในครรภ์มีกาวะ hyperglycemiaและมีปัสสาวะมาก
เพิ่มขึ้น
-
1.การแท้ง โดยทั่วไปแล้วไม่เพิ่มขึ้น ยกเว้นในรายที่เป็นเบาหวานและมีความผิดปกติของหลอดเลือด
ที่มาเลี้ยงอุ้งเชิงกรานหรือในรายที่ควบคุมน้ำตาลในเลือดไม่ดี โดยเฉพาะในช่วง 7 สัปดาห์แรกของการ
ตั้งครรภ์ (embryonic phase)
5.การคลอดก่อนกำหนด เชื่อว่าปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิด ได้แก่ ครรภ์แฝดน้ำ ความดันโลหิตสูงขณะ
ตั้งครรภ์ หรือการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
6.การคลอดยากและการบาดเจ็บต่อช่องหางคลอด เนื่องจากหารกตัวโตกว่าปกติ (macrosomia)
ทำให้อัตราการผ่าตัดคลอดหางหน้าท้องเพิ่มขึ้น
-
-
ผลกระทบของโรคของต่อทารก
5.การกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR) พบได้น้อยว่าทารกตัวโตมากกว่าปกติ มักเกิดในรายที่
มารดา มีความผิดปกติของหลอดเลือดจากเบาหวาน ทำให้เกิด placental insufficiency
-
2.การตายของทารกหลังคลอดสูงขึ้น 7 เท่า จากภาวะ respiratory distress syndrome (RDS).
hypoglycemia, hypoglycemia, hyperbilirubinemia และการติดเชื้อ เป็นต้น
7.Neonatal hypoglycemia เนื่องจากกลูโคสผ่านรกได้อย่างอิสระ ถ้าระดับน้ำตาลในมารดาสูง
ทารกก็จะสูงด้วย กระตุ้นให้ตับอ่อนสร้างอินสุลินหลังคลอดระดับของอินสุลินยังสูงอยู่ ทำให้ระดับน้ำตาล
ในกระแสเลือดทารกต่ำ สมองของทารกจะถูกทำลายเกิด cerebral palsy ได้
1.การตายของทารกในครรภ์ก็สูงกว่าปติ 3 - 8 เท่าของคนก็ปกติ เนื่องจากเกิด ketoacidosis,
asphyxia, hypoglycemia และ placental insufficiency
3.ความพิการแต่กำเนิด (Congenital defect) พบได้บ่อยขึ้นและสัมพันธ์กับการควบคุมระดับน้ำคาล
ไม่ดีในช่วงปฏิสนธิและระยะตัวอ่อน
8.Neonatal hyperbilirubinnemia เป็นผลจากการที่ทารกขาดออกซิเจนเรื้อรังจากภาวะ placental insufficiency ทำให้ทารกมีการสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้นจากตับเพื่อชดเชยการขาดออกซิเจนและเกิดภาวะ hyperbilirubinnemia ในระยะหลังคลอดตามมา
4.ทารกตัวโตกว่าปกติ (macrosomia) เกิดจากระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงขึ้นของมารดา ทำให้ทารก
ในครรภ์มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเช่นกันตับอ่อนของทารกจึงกระตุ้นการสร้างอินสุลินเพิ่มขึ้น เกิดการสะสม
ของไขมันและน้ำตาลของทารก ทำให้ทารกมีตัวโตกว่าปกติ
-
-
สาเหตุ
อินซูลิน คือฮอร์โมนที่สร้างจากตับอ่อน มีหน้าที่ช่วยให้ร่างกายนำน้ำตาลกลูโคสไปใช้เป็นแหล่งพลังงาน และควบคุมระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ
ระหว่างการตั้งครรภ์ รกจะมีการผลิตฮอร์โมนบางชนิดขึ้น เช่น human placental lactogen (hPL) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงทำให้ร่างกายไม่สามารถนำอินซูลินไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เรียกภาวะนี้ว่า "ภาวะดื้อต่ออินซูลิน" เพื่อให้มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงพอที่จะไปเลี้ยงทารกในครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักเกิน หรืออ้วนมาก่อน จะมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ เพราะมีภาวะดื้อต่ออินซูลินก่อนที่จะตั้งครรภ์อยู่แล้ว การตั้งครรภ์จะทำให้น้ำหนักตัวของหญิงคนนั้นมากกว่าเดิม จึงยิ่งเป็นปัจจัยส่งเสริมในการเกิดโรค
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์เกิดขึ้น เมื่อร่างกายไม่สามารถผลิตอินซูลินได้เพียงพอกับความต้องการที่เพิ่มขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์
-
-
-
-
-