Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกตายในครรภ์ (death fetus in utero; DFIU / intrauterine fetal death),…
ทารกตายในครรภ์ (death fetus in utero; DFIU / intrauterine fetal death)
สาเหตุ
จากทารกในครรภ์ ความผิดปกติของโครโมโซม
โครงสร้างของโครโมโซมผิดปกติ
ความพิการแต่กาเนิด เช่น anencephaly ครรภ์เกินกำหนด ขาดสารอาหาร รกเสื่อม สายสะดือถูกกด
จากรกเสื่อม (ครรภ์เกินกาหนด)
รกเกาะต่ำ
รกลอกตัวก่อนกาหนด
ภาวะแทรกซ้อนของสายสะดือ เช่น สายสะดือบิดพันกัน การเกาะของสายสะดือผิดปกติ
จากมารดา
โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง
การติดเชื้อ เช่น หัดเยอรมัน โรคทางภูมิคุ้มกันวิทยา
ไม่ทราบสาเหตุ
การรวบรวมข้อมูล
ซักประวัติ
น้าหนักลดลงหรือไม่เพิ่มขึ้น
ทารกไม่ดิ้น
ขนาดครรภ์ไม่โตขึ้นหรือเล็กลง
มีเลือดหรือน้้ำออกทางช่องคลอด
ตรวจร่างกาย
คลำไม่พบการเคลื่อนไหวของทารก ไม่รู้สึกเด็กดิ้น ฟังไม่ได้ยิน
FHR
มดลูกขนาดไม่โตขึ้นจากการตรวจครั้งก่อนๆ หรือเล็กกว่าอายุครรภ์
ตรวจภายในพบปากมดลูกเปิด คลำได้ศีรษะทารกนิ่มๆ กระดูกเกยกัน หรือกะโหลกยุบ น่วม ไม่คงรูป
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับฮอร์โมนต่างๆ เริ่มลดลงหลังทารกเสียชีวิต ได้แก่ estriol, HCG
การตรวจด้วยอัลตร้าซาวน์ ไม่เห็นการเคลื่อนไหวของหัวใจไม่เห็นการเคลื่อนไหวของทารก ไม่มี tone ของแขนขา ลักษณะของทารกที่เสียชีวิต
Spalding’s sign (กระดูกกะโหลกศีรษะเกยกัน)
Deuel’s sign (การบวมของหนังศีรษะ จากมีการคั่งของของเหลวระหว่างชั้นไขมันของหนังศีรษะและกะโหลก)
Robert’s sign พบฟองอากาศในหัวใจและหลอดเลือดใหญ่ เกิดหลังทารกตาย 2-3 วัน
เจาะถุงน้าครำ
มีสีน้าตาลเข้ม ข้นมาก พบหลังเสียชีวิตนานกว่า 1 สัปดาห์
ผลต่อมารดา
ด้านจิตใจ
มีภาวะสูญเสีย เศร้าโศก หมดกำลังใจ
อาจมีผลกระทบต่อภูมิคุมกันของร่างกาย มีโอกาสติดเชื้อง่าย
ด้านร่างกาย
1) ถ้าตายในครรภ์นาน 1 เดือนขึ้นไป มีโอกาสเกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัว (coagulation defect)
2) อาจทำให้ภาวะแทรกซ้อนของโรคที่เป็นอยู่รุนแรงขึ้นได้
3) ภายหลังทารกตาย 6 สัปดาห์แรก พบว่า T-cell ถูกกดต่ำ มีโอกาสติดเชื้อง่าย
4) มดลูกหดรัดตัวไม่ดี การคลอดยาวนาน เสี่ยงรกค้าง ตกเลือดหลังคลอด
แนวทางการรักษา
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุด
ปล่อยให้เจ็บครรภ์เอง
กระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์ โดยใช้ Oxytocin หรือ ใช้ Cytotec สอดที่ posterior fornix ทุก 4-6 ชั่วโมง จนมดลูกหดรัดตัวดี
ระยะหลังคลอด
ให้ยายับยั้งการหลั่งน้านม
ในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
ค้นหาเหตุการณ์เสียชีวิตของทารกและหาแนวทางป้องกัน/แก้ไข รักษาโรคเดิมของมารดา เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
การพยาบาล
ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากทารกเสียชีวิต เช่น DIC ติดเชื้อ ตกเลือดหลังคลอด
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ยอมรับการสูญเสีย และปรับตัวสู่ระยะการสูญเสียได้
ป้องกันอาการไม่สุขสบาย เช่น เต้านมคัดตึง หรือสามารถจัดการอากากรไม่สุขสบายได้
วางแผนการตั้งครรภ์ครั้งต่อไปได้อย่างเหมาะสม
นางสาว ทิวาภรณ์ นวลบริบูรณ์ รห้ส 603901019