Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
ความหมาย
เป็นระยะที่มีการถ่างขยายของปากมดลูก เริ่มตั้งแต่เจ็บครรภ์จริงถึงปากมดลูกเปิดหมดระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 8-24 ชม เฉลี่ย 4-12 ชม.ในครรภ์แรก ครรภ์หลังเฉลี่ย 6ชม.
บทบาทพยาบาลในระยะที่หนึ่งของการคลอด
3.มีการตัดสินใจที่ดีและมีความพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้น
4.มีความสามารถในการค้นหาความต้องการของหญิงที่อยู่ในระยะคลอดและดูแลตามความต้องการนั้น
2.มีความสามารถและชำนาญในเทคนิคต่างๆที่ทำให้ผู้คลอดปลอดภัย
5.มีสัมพันธ์ภาพที่ดี มีความเห็นอกเห็นใจหญิงตั้งครรภ์ที่อยู่ในระยะของการคลอด
2.เข้าถึงภาวะจิตสังคมของมารดาในระยะคลอด
ให้การพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ
1.ดูแลให้ผู้คลอดได้รับความสุขสบาย ปลอดภัยในทุกระยะของการคลอด
2.ใช้หลัก Aseptic technique ตลอดทุกระยะของการคลอด
3.อย่างรีบด่วนได้ และ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
1.มีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา รู้เทคนิคของการดูแลหญิงตั้งครรภ์ ตั้งแต่ระยะเจ็บครรภ์จนถึงสิ้นสุดของการคลอด
การประเมินสภาวะผู้คลอดในระยะแรกรับ
1.การซักประวัติ
1.ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
1.ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
2.เคยคลอดปกติหรือผิดปกติ เช่น การตกเลือด
3.เคยมีประวัติการแท้งหรือขูดมดลูกหรือไม่ ถ้าเคยควรระวังเรื่องรกแน่นกว่าปกติ (Adherent placenta)
4.เคยมีประวัติผ่าตัดเอาเด็กออกผ่านหน้าท้องหรือไม่ หรือถ้าไม่เคยควรระวังเกี่ยวกับมดลูกแตก
5.ประวัติหลังคลอดในอดีต มีภาวะแทรกซ้อนใดๆหรือไม่ เช่น มีไข้ ตกเลือดหลังคลอด
2.ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
โรคปอด โรคตับ เบาหวาน กามโรค โรคเลือด และการผ่าตัดต่างๆ เกี่ยวกับอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
3.ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
1.ตั้งครรภ์นี้ครรภ์ที่เท่าไร อายุครรภ์เท่าไรโดยถามประวัติประจำเดือนครั้งสุดท้าย
2.อายุเท่าไร เกิน 35 ปี หรือไม่ ถ้าเกินมีการคลอดล่าช้าจาก rigid cervix และ rigid perineum
3.ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ เช่น PIH (pregnancy induced hypertention) ภาวะโลหิตจาง (Anemai) เบาหวาน(Diabetes)
4.อาการผิดปกติต่างๆที่เกิดจากการตั้งครรภ์ เช่น ประวัติมีเลือดออกทางช่องคลอด ประวัติการเจ็บครรภ์ หรืออาการนำมาส่งโรงพยาบาลเพื่อให้ทราบว่าเข้าสู่ระยะคลอดหรือไม่
2.การตรวจร่างกาย
1.การตรวจร่างกายทั่วไป
1.ลักษณะที่แสดงออกทั่วไป(Appearance)
อาการซีด แสดงว่ามารดามีภาวะโลหิตจาง (Anemia)
ถ้ามีหอบอาจจะแสดงว่ามารดาอาจมีภาวะโรคทางเดินหายใจหรือโรคหัวใจ
2.ความดันโลหิต(Blood pressure)
3.อาการบวม(Edema)
2.การตรวจร่างกายเฉพาะที่
การตรวจทางหน้าท้อง
การดู
2.ลักษณะทั่วไปของท้อง มีท้องหย่อนหรือไม่ (Pendulus abdomen) หรือ มีกล้ามเนื้อท้องแยกออกจากกัน (Diastasis recti) ทำให้กล้ามเนื้อหย่อนกำลังไม่มีเเรงเบ่ง
3.สีของผิวหนังหน้าท้องและดูว่ามีรอยผ่าตัดหรือไม่
1.ดูขนาดหน้าท้องว่าใหญ่ผิดปกติหรือไม่ ถ้าใหญ่มากอาจมีน้ำคร่ำมาก (Polyhydramnios)เด็กใหญ่หรือครรภ์แฝด(Twin)
4.ลักษณะของมดลูกโตตามขวางหรือตามยาว เพื่อจะได้ทราบว่าเด็กอยู่ใน lie ใดการคลำ
การคลำ
นิยมทำวิธี Leopold of gestation ในการตรวจหน้าท้อง
2.แนวลำตัวเด็ก (Presentation)
1.อายุครรภ์ หรือ ระยะเวลาการตั้งครรภ์ (period of gestation)
3.ส่วนนำของเด็ก(Presentation)
4.ท่าของเด็ก(position)
5.การลงในอุ้งเชิงกรานของศรีษะเด็ก(engagement)
6,สภาพของเด็กในครรภ์
การฟัง
1.จะฟังเสียงหัวใจเด็กได้เมื่อตั้งครรภ์ 20 สัปดาห์ขึ้นไป
2.ตรวจดูว่าทารกยังชีวิตอยู่หรือไม่
3.วินิจฉัยการตั้งครรภ์แฝด
4.วินิจฉัยส่วนนำและท่าของเด็กในครรภ์
การตรวจภายในช่องคลอด(vaginal examination)
วัตถุประสงค์
1.เพื่อทราบว่ามารดาเข้าสู่ระยะการคลอดหรือไม่
2.เพื่อทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
3.เพื่อทราบส่วนนำและระดับของส่วนนำ
4.เพื่อให้ทราบถึงความผิดปกติต่างๆของช่องทางคลอด
ข้อบ่งชี้
1.เมื่อมารดาเจ็บครรภ์ตลอดวันแรกรับใหม่ในรายที่ไม่มีข้อห้าม
2.เมื่อถุงน้ำทูนหัวแตกทันที
3.เมื่อมดลูกมีการหดตัวรุนแรงและถี่มาก
4.เมื่อมารดารู้สึกอยากเบ่งหรือเริ่มเบ่ง
5.เมื่อต้องการทราบการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
6.เมื่อต้องการทราบความก้าวหน้าของการคลอด
7.เมื่อทราบการวางแผนและเตรียมการช่วยเหลือ
ข้อห้าม
2.ผู้ป่วยโรคพิษแห่งครรภ์ซึ่งต้องการให้พักผ่อนมากๆ
3.ในรายที่มีน้ำเดินมาจากบ้าน แพทย์ Speculum examination และทำ swab culture ดูก่อน หลังจากนั้นจึงจะตรวจทางช่องคลอดได้ ในรายที่ถุงน้ำแตกแล้วจะไม่ทำการตรวจบ่อยๆเพราะจะทำให้เกิด infection ได้ง่าย
1.ในรายที่มีประวัติเลือดออกทางช่องคลอด เพราะจะกระตุ้นให้เลือดออกมากขึ้น
4.ในรายที่ต้องการรักษาถุงน้ำไว้
สิ่งที่ต้องตรวจ
1.ตรวจสภาพช่องคลอด
2.ตรวจสภาพปากมดลูก
ความหนาของปากมดลูก
การถ่างขยายของปากมดลูก
3.ตรวจสภาพของถุงน้ำทูน
4.ตรวจหาส่วนนำ
ดูว่าส่วนไหนของเด็กที่ลงมาในช่องกราน
คลำหาส่วนสำคัญของเด็ก
รอยต่อแสกกลาง
ขม่อมหลัง
ขม่อมหน้ท
ตรวจหาระดับส่วนนำ
5.ขนาดของmolding
6.การตรวจสภาพของช่องเชิงกราน
ึ7.สิ่งผิดปกติต่างๆ
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกสืบพันธ์ภายนอกและการตรวจทางช่องคลอด
4.การมีเส้นเลือดหรือไม่ ถ้ามีต้องระวังการฉีกขาดของเส้นเลือดในระหว่างการทำคลอด
5.มีvulva gaping หรือไม่ ถ้ามีอาจเป็นอาการอย่างหนึ่งที่เข้าสู่ระยะสองของการคลอด มี vaginal discharge หรือไม่
6.ลักษณะน้ำหล่อเด็กที่ไหลออกมาเป็นอย่างไร ปกติน้ำหล่อเด็กจะไม่มีสี และกลิ่น ถ้าพบว่าน้ำหล่อเด็กมีสีเขียว และเด็กเป็นท่าศีรษะ เเสดงว่าเด็กในครรภ์มีภาวะ distrees
3.มี skin lesion หรือ condyloma accuminata (หูดหงอนไก่) หรือไม่ ถ้ามีรายงานเเพทย์เพื่อตรวจให้แน่นอนและทำการป้องกันการติดเชื้อ
2.มีมูกเลือด (show) หรือเลือด (bleeding) หรือไม่
1.การบวมของ vulva มีหรือไม่ ถ้าบวมในมารดา severe pre-eclampaia (ความดันโลหิตสํงกับการตั้งครรภ์)
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจปัสสาวะ โดยหาน้ำตาลและโปรตีนในปัสสาวะการเตรียมความสะอาดผู้คลอดเพื่อการคลอด
การดูแลด้านร่างกายและจิตใจ
ด้านจิต-สังคม
1.มีเมตตา เป็นมิตร รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา มีท่าทางใจดี
2.ให้ความนับถือในความเป็นบุคคลแก่มารดาและญาติ
3.เมื่อจะทำการตรวจหรือปฎิบัติการพยาบาลใดๆ ต้องบอกให้มารดาทราบและปฏิบัติด้วยความสุภาพนุ่มนวล
4.อธิบายให้มารดาและญาติได้เข้าใจถึงกระบวนการคลอดโดยสังเขป
5.จัดบรรยากาศให้สงบเงียบ เป็นสัดส่วนให้มารดาได้ผ่อนคลาย
6.อยู่เป็นเพื่อนมารดาอย่างใกล้ชิด
7.ให้คำชมเชย แก่ผู้คลอดเพื่อให้เกิดความมั่นใจ
8.ประเมินความต้องการของมารดาและตอบสนองโดยเร็ว
ด้านร่างกาย
สภาวะโดยทั่วไปของมารดาโดยการสังเกตอาการอย่างใกล้ชิดวัด Vital sings ทุก 4 ชั่วโมงหากพบความผิดปกติต้องรายงานแพทย์เพื่อช่วยเหลือ
ท่านอนเกี่ยวกับท่านอนในระยะต้น ๆ ของการคลอดไม่จำกัดท่าแต่การยืนหรือเดินจะช่วยให้ A-P diameter ของ pelvic outlet ขยายกว้างขึ้นได้เล็กน้อยจากการแยกตัวของ Sacro-COCCygeal ทำให้ศีรษะเด็กเคลื่อนต่ำลงไปที่ส่วนล่างของมดลูกไปกดกลุ่มประสาทที่คอมดลูกกระตุ้นให้มดลูกมีการหดรัดตัวในรายที่ปากมดลูกเปิดมากให้มารดานอนในท่าตะแคงซ้ายไม่ควรให้นอนหงายเพราะจะทำให้กดเส้นเลือด Inferior Venacava ทำให้เกิด Supine hypotensive Syndrome ได้ในรายที่ได้รับยา Analgesic drug เพื่อลดความเจ็บปวดให้มารดานอนพักบนเตียง
ดูแลความสุขสบายทั่ว ๆ ไปจัดสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่สะอาดในรายที่ถุงน้ำแตกควรใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกตลักษณะน้ำคร่ำและป้องกันติดเชื้อ
อาหารในระยะคลอดในระยะ (atent phase อาจให้รับประทานอาหารได้ในกรณีที่ไม่มีข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดแต่เมื่อเข้าสู่ระยะ active phase ควรงดน้ำและอาหารทางปากเพราะหากมารดามีความผิดปกติจะได้ทำการผ่าตัดได้ทันท่วงที (ต้องดมยาสลบ) หากมีภาวะ prolong labour ต้องดูแลการได้รับสารน้ำที่เพียงพอ
การดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่างทุก 2 ชั่วโมงเพื่อไม่ใช้ขัดขวางการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การให้ผู้คลอดปฏิบัติวธีการผ่อนคลายความเจ็บป่วย
กลไกความเจ็บปวด
ทฤษฎีจำเพาะ(specificity theory)
ทฤษฎีแบบแผน(pattern theory)
ทฤษฎีควบคุมความเจ็บปวดภายใน(endogenous pain control theory)
ทฤษฎีควบคุมประตู(gate control theory)ค้นพบโดยเมลแซคและวอลล์ (melzack&Wall)
ระบบควบคุมส่วนกลาง
ระบบความลำเอียงส่วนกลาง
ระบบกระทำการ
กลไกการควบคุมประตู
สาเหตุของความเจ็บปวดในระยะคลอด
ด้านร่างกาย
ความเจ็บปวดในระยะที่ 1
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกทำให้การไหลเวียนของเลือดไปยังมดลูกลดลงเซลกล้ามเนื้อมดลูกขาดออกซิเจนก่อให้เกิดความเจ็บปวดเช่นเดียวกับภาวะหัวใจขาดเลือด
2 การเปิดขยายของปากมดลูกและการเปลี่ยนแปลงของมดลูกส่วนล่างทำให้เกิดการยึดและตึงก่อให้เกิดความเจ็บปวดเช่นเดียวกับการยืดขยายของลำไส้เนื่องจากแก๊ส
. 3 แรงกดและดึงลงบนมดลูกปากมดลูกท่อนำไข่รังไข่เอ็นยึดต่าง ๆ กระเพาะปัสสาวะท่อปัสสาวะลำไส้ตรงและเยื่อบุช่องท้อ
ความเจ็บปวดในระยะที่2
มีสาเหตุมาจากเซลกล้ามเนื้อมดลูกขาดออกซิเจนเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวการยืดขยายของช่องคลอดและฝีเย็บและแรงกดจากการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
ความเจ็บปวดในระยะที่ 3
ความเจ็บปวดระยะสั้นเกิดจากมดลูกหดรัดตัวและปากมดลูกเปิดขยายเพื่อขับเอารกออกมา
ด้านจิตใจ
เกิดจากความกลัวเป็นส่วนใหญ่ความกลัวเป็นภาวะตึงเครียดไม่สบายใจเนื่องจากมีสิ่งเร้ามากระตุ้นความกลัวในระยะรอคลอด
ปัจจัยที่มีผลต่อความเจ็บปวดในระยะคลอด
อายุจากการศึกษาในผู้คลอดครรภ์แรกพบว่าผู้คลอดที่มีอายุมากจะมีความเจ็บปวดรุนแรงและยาวนานกว่าผู้คลอดอายุน้อยเพราะผู้คลอดที่มีอายุมากมักจะมีความแข็งของปากมดลูกและฝีเย็บทำให้ยืดขยายได้ยากผู้คลอดจึงรู้สึกเจ็บปวดมาก
อาชีพและระดับสติปัญญาพบว่าความทนต่อความเจ็บปวดในระยะคลอดของผู้คลอดแต่ละคนจะแตกต่างกันตามอาชีพและระดับสติปัญญาผู้คลอดที่มีการศึกษาสูงและทำงานเบา ๆ จะมีความรู้สึกเจ็บปวดเร็วมากตรงข้ามกับผู้มีการศึกษาน้อยและมีอาชีพกสิกรรมหรือกรรมกรที่ทำงานหนักจะมีความรู้สึกเจ็บปวดช้าและทนต่อความเจ็บปวดได้ดีกว่า
จำนวนครั้งของการคลอดพบว่าผู้คลอดครรภ์หลังจะมีความเจ็บปวดในระยะที่ 1 ของการคลอดต่ำกว่าผู้คลอดครรภ์แรกเพราะผู้คลอดครรภ์หลังจะมีสภาพปากมดลูกเมื่อเริ่มเจ็บครรภ์อ่อนนุ่มกว่าผู้คลอดครรภ์แรกทำให้กากรเปิดขยายของปากมดลูกเป็นไปได้ง่ายกว่าผู้คลอดครรภ์แรก
ท่าของทารกท่าปกติของทารกคือเอาศีรษะเป็นส่วนนำโดยท้ายทอยอยู่ด้านหน้าของกระดูกเชิงกรานทารกที่อยู่ในท่าที่ผิดปกติจะทำให้ผู้คลอดเจ็บปวดมากและระยะเวลาการคลอดยาวนานทารกที่เอาท้ายทอยอยู่ด้านหลังของกระดูกเชิงกรานจะทำให้ผู้คลอดปวดหลังมากความเจ็บปวดดังกล่าวจะลดลงเมื่อทารกหมุนเอาท้ายทอยมาไว้ด้านหน้าของกระดูกเชิงกราน
ความแรงและระยะเวลาในการหดรัดตัวของมดลูกพบว่าความเจ็บปวดจะเพิ่มขึ้นสัมพันธ์กับความแรงและความยาวนานของการหดรัดตัวของมดลูกการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกทำให้ความแรงและความถี่ในการหดรัดตัวของมดลูกเพิ่มขึ้นมากกว่าการหดรัดตัวตามธรรมชาติทำให้ความเจ็บปวดในระยะคลอดเพิ่มขึ้นและมีความเจ็บปวดมากกว่าผู้คลอดที่ไม่ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
สภาพร่างกายมารดา: อ่อนเพลียอดนอนทุพโภชนาการ
การปวดประจำเดือน
ความคาดหวังต่อความเจ็บปวด
เชื้อชาติวัฒนธรรมศาสนาความเชื่อประเพณี
การปรับตัวของร่างกายและจิตใจ
สภาพจิตใจ: ความกลัววิตกกังวลเจ็บปวดเพิ่มขึ้น
ประสบการณ์การเตรียมตัวเพื่อการคลอด
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา
การปฏิบัติทางสูติศาสตร์: ยาเร่งคลอดเจาะถุงน้ำตัดฝีเย็บการใช้หัตถการช่วยคลอด
การประเมินการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอด
1.ประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
การตอบสนองของ sympathetic
การตอบสนองของระบบ parasymoathetic
2.ประเมินโดยใช้แบบประเมินตนเอง
แบบสอบถามความเจ็บปวดของแมคกิลล์ (Mcgill pain questionair)
การส่งเสริมการเผชิญความเจ็บปวดโดยไม่ใช้ยา
1.วิธีจิตป้องกัน (Psychoprophylaxis method)
2.วิธีของ Dick-Read
3.วิธีการของ Bradley
4.เทคนิคการผ่อนคลาย(relaxation techniques)
5.เทคนิคหารหายใจ(breating teachniques)
6.การจัดท่าที่เหมาะสม(positioning)
7.การบำบัดด้วยแรงดันน้ำ(jet hydrotherapy)
8.การใช้ความร้อนและความเย็น (hot and cold)
9.การเบี่ยงเบนความสนใจ(distraction)
การเตรียมตัวเพื่อการคลอดกับพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวด
1.การให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการคลอด
2.การปฏบัติเพื่อเผชิญกับความเจ็บปวดในระยะตั้งครรภ์
1.การควบคุมการหายใจระยะปากมดลูกเปิดช้า
2.การควบคุมการหายใจระยะปากมดลูกเปิดมากขึ้น
3.การควบคุมการหายใจระยะปากมดลูกเปิดเกือบหมด
4.1.การควบคุมการหายใจระยะปากมดลูกเปิดหมดหรือระยะเบ่งคลอด
การจัดการความเจ็บปวดโดยใช้ยา
1.การใช้ยาระงับปวดชนิดทั้งระบบ(systemic analgesia)
1.ยาระงับความเจ็บปวดชนิดสารเสพติด(narcotics/opioid)
2.ยาสงบประสาท และ ยานอนหลับ (sedatives and tranquilizers)
3.ยากล่อมประสาท(Tranquilizer anestics)
2.การใช้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ (regional anesthesia)
1.Pudendal nerve block เป็นยาฉีดระงับความรู้สึกที่pundendal nerve
2.การให้ยาระงับความรู้สึกทางเยื่อหุ้งไขสันหลังชั้นนอก (epidural block)
3.การฉีดยาระงับความรู้สึกเพียงคร้งเดียว(single epidural block)
4.การฉีดยาระงับความรู้สึกแบบต่อเนื่อง (continuous epidural block)
หลักการประเมินสภาวะของทารกในครรภ์
1.การเต้นของหัวใจทารก
2.ลักษณะน้ำคร่ำ
3.การดิ้นของทารกในครรภ์
4.การวิเคราะห์เลือดของทารกในครรภ์
5.การบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกโดยใช้เครื่องอิเล็กทรอนิกส์
การติดตามความก้าวหน้าโดยการตรวจทางหน้าท้องสิ่งที่ต้องประเมิน
1.สังเกตการหดรักตัวของมดลูก
2.สังเกตการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การประเมินภาวะสุขภาพและการพยาบาลสตรีในระยะที่หนึ่งของการคลอดปกติ
ปัญหาที่ 2 ไม่สุขสบายเรื่องจากเจ็บครรภ์คลอด
ปัญหาที่3 มีโอกาสเกิดการขาดสารน้ำและอาหารในระยะคลอด
ปัญหาที่ 1 มีโอกาสเสี่ยงต่อการดำเนินการคลอดที่ล่าช้า หรือผิดปกติในระยะเจ็บครรภ์
ปัญหาที่ 4 มีโอกาสติดเชื้อในระยะต่างๆของการคลอด
ปัญหาที่ 5มีปัญหาด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม ในระยะตั้งครรภ์และระยะคลอด
ปัญหาที่ 6 ไม่สุขสบายด้านร่างกายและมีโอกาสได้รับอุบัติเหตุในแต่ระยะของการคลอด
ปัญหาที่ 7 ทารกมีโอกาสเกิดอันตรายและภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์