Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่1ของการคลอด, image, นางสาว รุ่งทิวา ปักษาจันทร์ เลขที่…
การพยาบาลในระยะที่1ของการคลอด
การรับใหม่ผู้คลอด
การซักประวัติ
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อ อายุ การศึกษา อาชีพ
อาการนำที่ผู้คลอดมาโรงพยาบาล
การเจ็บครรภ์ Labor pain
เจ็บครรภ์เตือน False labor pain
-ปวดไม่สม่ำเสมอ
-ปวดบริเวรหน้าท้องเท่านั้น
-อาการจะทุเลาหลังเปลี่ยนอริยาบถ
-ไม่มีมูกเลือด น้ำเดิน และการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
เจ็บครรภ์จริง True labor pain
-ปวดสม่ำเสมอ
-ปวดบริเวณหลังร้าวไปหน้าท้องและต้นขา
-อาการปวดจะเพิ่มขึ้นและถี่ขึ้น
-มีมูกเลือด น้ำเดิน และมีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
มูก show
ลักษณะเป็นอย่างไร
เกิดเมื่อไหร่
มีน้ำเดินหรือถุงน้ำแตก Rupture of membrane
มีหรือไม่มีน้ำ
เกิดขึ้นเมื่อไหร่
จำนวนเท่าใด
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
การแท้ง
จำนวนครั้งที่แท้งและขูดมดลูก
สาเหตุ เช่น การตั้งครรภ์นอกมดลูก การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
การคลอด
จำนวนครั้งของการคลอด
อายุครรภ์ขณะคลอด
ชนิดของการคลอด
ทารก
เพศ
น้ำหนักเเรกเกิด
ควาพิการแต่กำเนิด
สุขภาพทารกปัจจุบัน
จำนวนบุตรที่มีชีวิต
ความผิดปกติ/ภาวะแทรกซ้อนต่างๆในนระยะคลอดเเละหลังคลอด
รกค้าง ตกเลือดขณะคลอด/หลังคลอด
:no_entry:หากเกิดขึ้นในครรภ์ก่อน ครรภ์นี้ก็มีโอกาสเกิดขึ้นอีก :no_entry:
ประวัติสุขภาพทั่วไป
การผ่าตัด การเเพ้ยาหรืออาหาร
ตรวจสอบข้อมูลจากบันทึกฝากครรภ์
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป
ลักษณะรูปร่าง ส่วนสูงน้อยกว่า 145 ท่าเดินผิดปกติ
:no_entry: เสี่ยงต่อการคลอดผิดปกติ :no_entry:
น้ำหนัก เพื่อประเมินภาวะบวมจากความดันโลหิตสูง ภาวะอ้วน
:no_entry: อ้วนมากจะทำให้คลอดยาก และมีผลกับท่าคลอด:no_entry:
ลักษณะทั่วไป ซีด บวม การหายใจหอบ
สัญญาณชีพ
BP : ระว่าง 110-120/70-80 mmHg
ถ้าสุงมากกว่า 140/90 mmHg >>>ความดันโลหิตสุงขณะตั้งครรภ์
T ระหว่าง 36.5-37.5 องศา >37.5 รายงานแพทย์ อาจเเสดงถึงการติดเชื้อ
P >90ครั้ง/นาที >>>อาจมีการติดเชื้อ ขาดน้ำ ตกเลือด อาจแสดงถึงภาวะShock
การตรวจร่างกายเฉพาะที่
ฟัง
เสียงหัวใจทารก
-ด้านหลังทารกบริเวณสบักซ้าย เสียงชัด
-120-160ครั้ง/นาที :warning:ถ้าน้อยกว่า110 หรือ มากกว่า 160 :warning: เสี่ยง Fetal distress
-ระยะที่สองของการคลอด ฟังทุก5-10นาที
-หลังน้ำแตกควรฟังทันที>>>อาจีสานสะดือพลัดต่ำ
-ยิ่งใกล้คลอดต่ำแหน่หัวใจก็จะต่ำลง
ก้นนำ>>หัวใจเหนือสะดือ
หัวนำ>>หัวใจต่ำกว่าสะดือ
คลำ
ความสัมพันธ์ระดับยอดมดลูกกับอายุครรภ์
:no_entry:เมื่อคบกำหนดคลอดควรอยู่ระหว่าง 33-37cm.ถ้า<32 ทารกตัวเล็ก >38 ทารกตัวโต>>>คลอดยาก ตกเลือดหลังคลอด :no_entry:
ส่วนนำทารก ท่าและทรง การเข้าสู่เชิงกราน
ดู
ขนาดท้อง
ขนาดใหญ่>>> ครรภ์แฝด ทารกตัวใหญ่ หรือ มีน้ำคล่ำมาก
ลักษณะมดลูก
ตามยาวหรือตามขวาง
การเคลื่อนไหวขงทารก
ลักษณะทั่วไปของท้อง
:no_entry:ท้องหย่อน>>>ระยะที่2ของการคลอด แรงเบ่งไม่ดี :no_entry:
การตรวจภายใน
บอกให้ผู้คลอดทราบ เข้าใจ
จัดท่า Dorsal recumbent
คลุมผ้าเปิดเฉพาะบริเวณอวัยวะเพศ
ปิดม่าน
สภาพปากมดลูก
การเปิดขยายของปากมดลูก Cervical dilatation
เทียบจากเส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลม1-10 cm.
เปรียบเทียบจากความกว้างของนิ้วมือ Finger breadth
ความบางของปากมดลูก cervical effacement
ถ้าความหนาเหลือเพียง 1 เซนติเมตร cervical effacement เท่ากับ 50%
ถ้าความหนาเหลือเพียง 0.5 เซนติเมตร cervical effacement เท่ากับ75 %
ถ้าความหนาเหลือเพียง0.2-0.3 เซนติเมตร cervical effacement เท่ากับ 100 %
การบวมของปากมดลูก
เบ่งก่อนเวลา จึงทาให้ปากมดลูกส่วนหน้าถูกกด ระหว่างศีรษะทารกกับช่องทางคลอด ทาให้การไหลเวียน
ของเลือดไม่สะดวก จึงเกิดการบวมขึ้น>>>ปากมดลูกยืดขยายได้น้อย
ตำแหน่งปากมดลูก
ระยะแรกคลอดปากมดลูกจะอยู่ด้านหลังแล้วจะค่อยๆเลื่อนมาอยู่ตรงกลาง และมาอยู่ด้านหน้าเมื่อระยะการคลอดก้าวหน้ามากขึ้น
ตรวจหาส่วนนำ
ดูว่าอะไรเป็นส่วนนำ
ศรีษะ>>กลม เรียบ แข็ง
ก้น>>>นุ่ม ไม่เรียบ
ระดับส่วนนำ
Plane ใช้ส่วนที่กว้างที่สุด เปรียบเทียบ ischial spines
High plane หมายถึง ส่วนนำอยู่ เหนือระดับ ของ ischial spines
2.Mid plane หมายถึง ส่วนนำอยู่พอดีกับระดับของ ischial spines
3.Low plane หมายถึง ส่วนนำอยู่ต่ำกว่าระดับของ ischial spines
Station บอกส่วนนำที่อยู่ต่ำสุดของทารกอยู่ระดับใดแล้ว โดยใช้ ischial spines
:red_cross: ไม่คิดstation ตามระดับของถุงน้ำทูนหัว:red_cross:
ตรวจหาท่าทารก
เป็นการคลำจากการตรวจดู sagittal suture
ขม่อมหลัง (Posterior
fontanel) หรือขม่อมหน้า (Anterior fontanel)
ตำแหน่งของมันอยู่หน้า หรือหลัง
ลักษณะถุงน้ำคล่ำ
1.MI = Membrane Intact (ถุงน้ำยังอยู่)
2.MR = Membrane Rupture (ถุงน้าแตกแล้ว)
3.ML = Membrane Leaked (ถุงน้าคร่ำรั่ว)
4.SRM = Spontaneous Rupture of Membrane (ถุงน้ำแตกเอง)
5.ARM = Artificial Rupture of Membrane (ได้รับการเจาะถุงน้ำ)
:red_cross: ข้อห้าม:red_cross:
-มีประวัติเลือดออก
-ทารกยังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกราน
-เมื่อมองเห็นศรีษะทารกในครรภ์แล้ว
-มีการอักเสบบริเวณทวารหนัก
-กรณีถุงน้ำคล่ำแตกก่อนกำหนด
กิจกรรมการพยาบาลเตรียมผู้คลอด
การคาดคะเนเวลาเกิด
ครรภ์หลังขยาย 1.5/hr
ครรภ์แรกขยาย 1Cm/hr
คาดคะเนชาวงระยะปากมดลูกเปิดเร็ว Active phase
การบันทึกความก้าวหน้าของการคลอด
WHO Partograph
1.แสดงแนวโน้มของการคลอดที่ผิดปกติ
2.ช่วยในการตัดสินใจส่งต่อผู้คลอดได้
3.ดำเนินการช่วยเหลือได้อย่างทันทีทันใด
ระยะ Latent
เริ่มเจ็บครรภ์จริงจนถึงปากมดลูกเปิด 3 เซนติเมตรหรือมีการหดรัดตัวของมดลูก 2 ครั้ง ใน
10 นาทีระยะนี้ไม่ควรเกิน 8 ชั่วโมง
ระยะ Active
การเปิดขยายของปากมดลูกเป็นปกติหรือไม่พิจารณาจากเส้นกราฟ 2 เส้นคือ alert line และ action line อัตราการเปิดขยายของปากมดลูกไม่ควรน้อยกว่า 1 เซนติเมตร / ชั่วโมง
Alert line
เส้นที่ลากทแยงมุมเมื่อปากมดลูกเปิด 3-10 เซนติเมตรคิดอัตราการเปิดขยายของปากมดลูกในอัตราปกติ 1 เซนติเมตรต่อ 1 ชั่วโมงถ้าการขยายของปากมดลูกล่าช้าเลยเส้น
ไปทางขวาแสดงว่าเริ่มเกิดการคลอดยาวนาน
Action line
คือเส้นที่แสดงว่าปากมดลูกเปิดขยายล่าช้าถึงเขตที่มีการคลอดยาวนานผิดปกติเป็นเส้นที่ลากขนานกับ Alert line และห่างไปทางขวาอีก 4 ชั่วโมง
Referral Zone
พื้นที่ที่อยู่ระหว่างเส้น Alert line กับ Action line ซึ่งเป็นช่วงที่ต้องการส่งต่อผู้คลอดจากสถานพยาบาลที่ไม่พร้อมไปยังสถานพยายามที่มีความพร้อมมากกว่าเพื่อการดูแลที่เหมาะสม
Friedman’s curve
เป็นกราฟเเสดงความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดของปากมดลูกกับระยะเวลาในการคลอด
เริ่มบันทึกตั้งแต่เจ็บครรภ์จริง ลากขนานกับ mean labor curve แล้วเปรียบเทียบ กับการเปิดขยายของปากมดลูกกับเส้นกราฟ
แบ่งออกได้เป็น 3 ระยะย่อย
Acceleration phase ระยะที่มดลูกเปิดขยายอย่างช้าๆ Cx. dilate 3-4 cm
Phase of maximum slope เป็นช่วงที่กราฟมีความชันมากที่สุด Cx. dilate 5-7 cm
Deceleration phase ระยะที่มดลูกเปิดขยายอย่างช้าๆ
อีกครั้งแต่จมีลักษณะเด่นคือจะมีการเคลื่อนต่ำของศีรษะทางรกอย่างรวดเร็ว Descent) tCx. dllate 8-10 cm
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก (Uterine contraction)
การประเมินโดยใช้เครื่องอิเล็กโทรนิก คือการใช้เครื่อง electronic feto
monitoring (EFM) ใช้ประเมินได้ทั้งการหดรัดตัว ของมดลูก (uterine activity)และประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ
การประเมินโดยการวางฝ่ามือบนยอดมดลูก
ระยะเวลาการหดรัดตัวของมดลูก (duration)
ระยะห่างของการหดรัดตัวแต่ละครั้งของมดลูก (interval)
ความแรงของการหดรัดตัว (intensity)
ความถี่ของการหดรัดตัวของมดลูก (frequeancy)
1.Latent Phase Interval 5-10 นาที Duration 20-40 วินาที Mild >>>ปากมดลูกเปิด 0-3 เซนติเมตร
Active Phase Interval 3-5 นาที Duration 40-60 วินาทีModerate>>> ปากมดลูกเปิด 3-9 เซนติเมตร
Transitional Phase Interval 2-3 นาที Duration 60-90 วินาที >>> ปากมดลูกเปิด 9-10 เซนติเมตร
:warning: การสังเกตหน้าท้องว่ามี มี Bandl’sring (pathological retraction) หรือมี bladder full>>>มดลูกแตก:warning:
การเปิดขยายของปากมดลูก
เมื่อการคลอดก้าวหน้าขึ้นมดลูกมีการหดรัดตัวดีจะทำให้ปากมดลูกบางและ
เปิดขยายมากขึ้นตามลำดับจนปากมดลูกเปิดหมดคือ 10 เซนติเมตร และบางหมด 100%
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
ครรภ์แรก descent > 1 ซม./ชม.
ครรภ์หลัง descent > 2 ซม./ชม
ทารกจะเคลื่อนต่ำลงมา และมีการหมุนภายในไปพร้อมๆ กัน
ตำแหน่งที่ฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกได้เลื่อนต่ำลงมาและเคลื่อนเข้าหาแนวกึ่งกลางลำตัว
ฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกได้ที่บริเวณรอยต่อกระดูกหัวเหน่า(Symphysis pubis) ซึ่งแสดงว่าใกล้คลอด
ตรวจทางช่องคลอด
ระยะ latent ควรตรวจทุก 4 ชั่วโมง
ระยะ active ควรตรวจทุก 2 ชั่วโมง
ตรวจเมื่อ
-ผู้คลอดลอดเจ็บ ครรภ์ถี่มาก ถุงน้ำคร่ำแตก
-ผู้คลอดลอดแสดงพฤติกรรมว่า ใกล้ ลอด เช่น อยากเบ่ง
-มูกออกมากขึ้นและเปลี่ยนจากมูกเป็นมูกเลือดโดยออกประมาณ 50 cc.
หลักการประเมินภาวะเเทรกซ้อน
Fetal distress
1.น้ำคร่ำมีขี้เทาปน (Meconium stained amniotic fluid)
2.น้ำคร่ำมีสีเขียวปนเหลืองขุนมีกลิ่นเหม็น
3.อัตราการเต้นของหัวใจทารกมากกว่า 160 ครั้ง / นาทีหรือน้อยว่า 110 ครั้ง / นาที
4.ในขณะที่มดลูกคลายตัวมดลูกหดรัดตัวนานไม่มีระยะพักหรือพักน้อยกว่า 1 นาที
5.มดลูกหดรัดตัวนานมากกว่า 90 นาที
6.มารดามีไข้และความดันโลหิตสูง / ต่ำ
Meconium-Stained
1.น้ำคร่ำมีสีเหลือง หรือสีเขียวอ่อน>>>ขาดออกซิเจนระดับ Mild
2.น้ำคร่ำมีสีเขียวปนเหลือง>>>ขาดออกซิเจนระดับ Moderate
3.น้ำคร่ำมีสีเขียวคล้ำ เหนียวข้น>>>ขาดออกซิเจนระดับsevere
การพยาบาล
1.จัดให้นอนตะแคงซ้ายเพื่อส่งเสริมการไหลเวียนของเลือดของมารดาทำให้เลือดไปเลี้ยงรกได้ดีขึ้น
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน 8-10 LPM
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำในอัตราที่เหมาะสม
แก้ไขภาวะ Uterine hyperactivity เช่นการหยุดให้ยาเร่งคลอด
แก้ไขตามสาเหตุเช่นหากมีภาวะ Cord compression ควรรีบแก้ไข
ติดตามและประเมินระดับ FHS พร้อมกับการประเมินการหดรัดตัวของมดลูก (Uterine contraction) เพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันทีหรือ On EFM
:<3:หลักการจำคือ นอนตะแคง แทง IV หลี่ Synto ดม (โอทู) and do EFM :<3:
ทำความสะอาด
การทำความสะอาดร่างกาย
ป้องกันการติดเชื้อ
การทำความสะอาดฝีเย็บ
1.จัดท่าให้ผู้คลอดนอนหงายชันเข่าทั้งสองข้าง (Dorsal recumbent) โดยแยกเข่าให้กว้าง
3.สำลีชุบน้ำยา hibitane scrub ฟอกบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกตั้งแต่หัวหน่าวลงมาจนถึงบริเวณฝีเย็บ
4.โกนขนจากหัวหน่าวจนถึงบริเวณฝีเย็บถ้าทำมีดโกนบาดผิวหนังผู้คลอด ให้ใช้เมอร์ไทโอเรท หรือทิงเจอร์ไอโอดีน ป้ายบริเวณที่บาดให้ผู้คลอด
2.คลุมผ้าให้ผู้คลอดให้เรียบร้อยโดยเปิดเฉพาะบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การสวนอุจจาระ
เพื่อให้มดลุกหดรัดตัวได้ปกติ
เพื่อกระตุ้นความก้าวหน้าของการคลอด ช่วยให้ส่วนนำเคลื่อนต่ำได้สะดวกขึ้น
การส่งเสริมการคลอด
การพยาบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวด
การสัมผัสและการนวด
เพิ่มการหมุนเวียนเลือด เพิ่มสารอาหารและออกซิเจนในบริเวณนั้น ระดับเอนเดอร์ฟินเพิ่มขึ้น
การประคบร้อน
การช่วยเหลือปลอบโยน
การมีสามีหรือผู้ใกล้ชิดอยู่ใกล้ ทำให้ผู้ป่วยไม่รู้สึกว่าถูกทอดทิ้ง มีผลต่อความต้องการยาระงับปวด ลดการใช้ oxytocin
การฝึกผ่อนคลาย
การหายใจ
latent phase
หายใจเข้าจมูกช้าๆนับ1-2-3-4 ผ่อนลมออกทางปากช้าๆนับ 1-2-3-4
Active phase
มดลูกหดรัดตัว หายใจเข้า-ออกช้าๆ
มดลูกหดรัดตัว เต็มที่ หายใจแบบตื้น เบา เร็ว ไปเรื่อยๆ
มดลูกเริ่มคลายตัว หายใจเข้า-ออกช้าๆ
Transition phase
มดลูกเริ่มหดรัดตัว หายใจเข้า-ออกช้าๆ
มดลูกหดรัดตัว หายใจตื้น เบา เร็ว ประมาณ 4 ครั้ง เป่าออกทางปาก 1 ครั้ง
มดลูกเริ่มคลายตัว หายใจเข้า-ออกช้าๆ
การใช้น้ำ
อาบน้ำด้วยฝักบัว การแช่ในอ่างธรรมดาหรืออ่างน้ำวน ในน้ำมีแรงดันช่วยการไหลเวียนเลือด ลดอาการปวดข้อ ปวดเอว ปวดหลัง
ลูบหน้าท้อง
ให้ผู้คลอดเปลี่ยนอิริยาบถหลาย ๆ ท่าเช่นนั่งยืนคลานนั่งยองๆเดิน
ท่าตรง (Up-right) เช่นท่ายืนเดินเป็นต้นจะช่วยให้ A P diameter ของ Pelvic outlet ขยายกว้างขึ้นได้เล็กน้อยจากการเคลื่อนไหวของ sacrococcygeal joint ทำให้ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำ
ท่ายืนและโน้มตัวไปข้างหน้า (Standing and leaning position)
ท่านั่งโน้มตัวไปข้างหน้า (Siting / leaning forward position)
นางสาว รุ่งทิวา ปักษาจันทร์ เลขที่ 99 ชั้นปีที่ 2 รหัสนักศึกษา 612401102