Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์ …
โรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์ (Heart disease)
หมายถึง สตรีมีครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ อาจเป็นมาก่อนตั้งครรภ์หรือภายหลังตั้งครรภ์ พบได้ประมาณร้อยละ 1 ของสตรีมีครรภ์ทั้งหมด โรคหัวใจที่พบมากที่สุดคือโรคลิ้นหัวใจ และหัวใจพิการตั้งแต่กำเนิด
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกายประเมินสัญญาณชีพอาจพบชีพจรเบาเร็วไม่ สม่ำเสมอมีภาวะ tachycardia (> 100 ครั้ง / นาที) หรือ bradycardia (<60 ครั้ง / นาที) ตรวจพบอาการ (8ะอาการแสดงของโรคหัวใจ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ ตรวจค่า arterial blood gas เพื่อประเมินปริมาณออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดหรือภาวะกรด-ด่างในร่างกาย
การซักประวัติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยอาการและอาการ
แสดงของโรคหัวใจ เช่น อาการใจสั่น เจ็บหน้าอก หายใจเหนื่อยไอเป็นเลือดเป็นลมหมดสติเมื่อออกแรง เป็นต้น
การตรวจพิเศษ ได้แก่ การตรวจ electrocardiography เพื่อตรวจอัตราและจังหวะการเต้นของหัวใจขนาดของหัวใจและภาวะหัวใจขาดเลือด
อาการและอาการแสดง
-
อัตราการเต้นของหัวใจผิดปกติอย่างรุนแรง (severe arrhythmia) และคลำบริเวณทรวงอกพบว่ามีการสั่นสะเทือน (thrill)
-
-
-
-
-
-
พยาธิสรีรภาพ
ในขณะที่ตั้งครรภ์ปริมาตรเลือด (blood volume) จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนกระทั่งคงที่เมื่อเข้าสู่ไตรมาสที่สามในช่วงอายุครรภ์ 30-32 สัปดาห์ปริมาตรเลือดที่เพิ่มขึ้นทั้งหมดประมาณร้อยละ 45-50 ส่วนปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน 1 นาที (cardiac output) เพิ่มขึ้นร้อยละ 43 อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้นร้อยละ 17 ในระยะท้ายของการตั้งครรภ์ cardiac output ก็ยังคงสูงอยู่เช่นเดิมเมื่อเข้าสู่ระยะคลอดการหดรัดตัวของมดลูกส่งผลให้ cardiac output เพิ่มขึ้น
โรคหัวใจที่พบบ่อย
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (congenital heart disease) เกิดจาก
ปัจจัยทางพันธุกรรมร่วมกับปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม เช่นความผิดปกติของ
โครโมโซมหรือการติดเชื้อหัดเยอรมันในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
โรคลิ้นหัวใจ (valvular heart disease) มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ streptococcus ทำให้มีพยาธิสภาพเกิดขึ้นที่สิ้นหัวใจ ซึ่งนำไปสู่ลิ้นหัวใจรัว (regurgitation lesion) หรือลิ้นหัวใจตีบ (stenotic lesion) หรือทั้งรั่วและดีบ
-
-
-