Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดามีเลือดออกครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
มารดามีเลือดออกครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด (abruptio placenta)
ปัจจัยเสี่ยง
หญิงตั้งครรภ์อายุมาก
ภาวะน้ำคร่ำเดินก่อนกำหนด
การลดขนาดของมดลูกอย่างรวดเร็ว
อาการ
tetanic contraction
มดลูกหดรัดตัวบ่อย > 5 ครั้ง/10 นาที
กดเจ็บที่มดลูก
เลือดออกทางช่องคลอด
คลำส่วนทารกได้ไม่ชัดเจนจากหน้าท้องแข็งตึง
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
External hemorrhage
Internal hemorrhage
การรักษา
ทารกมีชีวิต FHR ผิดปกติ พิจารณาผ่าตัดคลอด
ให้คลอดทันที ถ้าทารกเสียชีวิตแล้ว
ทารกมีชีวิต FHR ปกติ พิจารณาผ่าตัดคลอด
หมายถึง
มีการลอกตัวของรก จะทำให้มีเลือดออกอยู่หลังรก แทรกอยู่ระหว่างถุงน้ำคร่ำกับมดลูก หากรุนแรงมากขึ้นอาจลอกตัวจนหมด ซึ่งจะมีอันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ภาวะที่มีการลอกตัวของรกซึ่งเกาะในตำแหน่งปกติ หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ จนถึงก่อนทารกคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
PPH
การพยาบาล
อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวทราบถึงพยาธิสภาพ
รายที่เลือดออกมาก ควรให้ absolute bed rest
ดูแลให้สารน้ำและเลือดอย่างถูกต้อง
งดตรวจทางช่องคลอดและทวารหนัก
รกเกาะต่ำ (placenta previa)
ปัจจัยเสี่ยง
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
เคยได้รับการขูดมดลูก
อายุมากกว่า 35 ปี
อาการ
มีเลือดออกผิดปกติครั้งแรก GA 34-36 สัปดาห์
ทารกในครรภ์อาจอยู่ในท่าผิดปกติ หรือส่วนนำไม่ลงในอุ้งเชิงกราน
มีเลือดออกโดยไม่มีการเจ็บครรภ์ ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก
จ้าแนกเป็น 4 ระดับ
Placenta previa grade 2 (marginal placenta previa)
Placenta previa grade 3 (partial placenta previa)
Placenta previa grade 1 (low lying placenta)
Placenta previa grade 4 (total/complete placenta previa)
การวินิจฉัย
U/S ทางหน้าท้อง ตรวจพบรกเกาะต่ำตั้งแต่อายุครรภ์ 20 สัปดาห์ มีโอกาสน้อยที่รกเกาะต่ำจริงเมื่อคลอด แต่การตรวจพบเมื่ออายุครรภ์มากขึ้น จะมีโอกาสรกเกาะต่ำจริงเมื่อถึงระยะคลอด
หมายถึง
การมีบางส่วนของรก หรือรกทั้งอันเกาะอยู่ที่ส่วนล่างของมดลูก (lower uterine segment) มักพบเมื่ออายุครรภ์ 20 สัปดาห์ขึ้นไปส่วนมากพบในไตรมาสที 3
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง
พิจารณาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง เมื่อมีเลือดออกมากจะอาจเกิดอันตราย
ยุติการตั้งครรภ์ทันที กรณีเลือดออกมาก
การพยาบาล
งดตรวจทางช่องคลอดและทางทวารหนัก รวมทั้งงดสวนอุจจาระในระยะก่อนคลอด
ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพเป็นระยะ
ให้นอนพักบนเตียงมากที่สุด
ดูแลใส่ผ้าอนามัย เพื่อสังเกตลักษณะและจำนวนเลือดที่ออก
อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวทราบถึงพยาธิสภาพ
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกเป็นระยะ
ประเมินอาการแสดงของภาวะช็อกอย่างใกล้ชิด
ประเมิน FHS เป็นระยะตามสภาวะเลือดที่ออก หากพบความผิดปกติควรให้ออกซิเจน 4-5 LPM และรายงานแพทย์ทันที