Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์ วิธีการทางชีวกายภาพ Biophysical…
การประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์ วิธีการทางชีวกายภาพ
Biophysical assessment
การตรวจทารกผ่านกล้องส่อง (Fetoscopy)
เป็นการตรวจโดยใช้กล้องส่องตรวจ (endoscope) สอดผ่านถุงน้ำคร่ำทางหน้าท้องทำให้สามารถมองเห็นส่วนต่าง ๆ ของทารกในครรภได้ชัดเจน
วินิจฉัยความพิการภายนอกของทารก
ทำเมื่ออายุครรภ์ 15 wks.
ใช้การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงก่อนเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อรกและทารก
ปัจจุบันไม่นิยมทำแล้วเพราะอันตรายต่อแม่และเด็ก
คำแนะนำ
งดน้ำงดอาหารก่อนทำ 6-8 ชม.
งดทำงานหนัก 1-2 wks.
ตรวจ FHS ก่อนและหลังทำ
ตรวจปริมาณน้ำคร่ำก่อนและหลังทำ
ภาวะแทรกซ้อน
แท้งบุตร
ติดเชื้ออย่างรุนแรง
เลือดออกที่ช่องคลอด
การนับทารกดิ้น (Fetal Movement Count)
ขึ้นอยู่กับวงจรการหลับตื่น
เคลื่อนไหวมากผิดปกติ > 40 ครั้ง/ชม. อาจเกิดการกดทับสายสะดือ
เคลื่อนไหวน้อยผิดปกติ <10 ครั้ง/วัน อาจเกิดจากพร่องออกซิเจน การกดของระบบประสาท สุรา, phenobarb,narcotics
วิธีการนับจำนวนทารกดิ้น
1.การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
คลื่นเสียงจะผ่านผิวหนังไปยังเนื้อเยื่อที่ต้องการตรวจและเปลี่ยนไปตามชนิดของเนื้อเยื่อและสะท้อนกลับมายังเครื่องแปรผลทางจอภาพ
สามารถทำได้ทางหน้าท้อง(Transabdominal Ultrasonography) และการตรวจทางช่องคลอด (Transvaginal Ultrasonography)
ข้อบ่งชี้
ตรวจได้ตั้งแต่ 5 wks. เห็น FHS 7 wks.
วินิจฉัยการตั้งครรภ์ที่ผิดปกติ เช่น ทารกตายในครรภ์
ภาวะตกเลือดหรือเลือดออกผิดปกติ เช่น ครรภ์ไข่ปลาอุก
ตรวจดูตำแหน่งที่รกเกาะและการเปลี่ยนแปลงของรก
วินิจฉัยภาวะรกเกาะต่ำ
2.การตรวจด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้า
3.การนับจากความรู้สึกของมารดา
ครรภ์แรกเริ่มรู้สึกเมื่อ 18-20 wks.
ครรภ์หลังรู้สึกเมื่อ 16-20 wks.
ทารกจะเคลื่อนไหวมากในช่วง 28-34 wks.
มี 3 วิธี
1.The Cardiff “Count-to-ten chart”
ค้นพบโดยPearson และ Weaver
ให้หญิงตั้งครรภ์นับและบันทึกการดิ้นของทารกในครรภ์ไปจนครบ 10 ครั้ง โดยบันทึกเวลาตั้งแต่เริ่มนับ และเวลาที่นับครบ 10 ครั้ง
ระยะที่ทารกดิ้นครบ 10 ครั้ง ไม่ควรใช้เวลาเกิน 12 ชั่วโมง
3.Daily fetal movement record (DFMR)
นับผลรวมของการดิ้นของทารกในช่วงเวลา 12 ชั่วโมง จะต้องดิ้นมากกว่า 10 ครั้ง โดยแบ่งการนับเป็น 3 ช่วง ครั้งละ 1 ชั่วโมงหลังอาหารเช้า กลางวัน และเย็น และในแต่ละช่วงถ้าทารกดิ้นน้อยกว่า 3 ครั้ง ควรนับต่อไปอีก 1 ชั่วโมง
การแปลผล
จำนวนทารกดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้ง ใน 12 ชั่วโมง ถือเป็นสัญญาณอันตราย
ในกรณีที่พบว่าทารกดิ้นน้อยกว่า 3 ครั้งใน 1 ชั่วโมง และนับต่อไปอีก 1 ชั่วโมงแล้วทารกยังคงดิ้นน้อยกว่า 3 ครั้ง ให้ถือเป็นสัญญาณอันตรายที่ต้องพบแพทย์ทันที
Sadovsky, Yaffe, Wood และคณะ
2.“Modified Cardiff count to ten”
นับจำนวนเด็กดิ้นจนครบ 10 ครั้ง ในเวลา 4 ชั่วโมง ซึ่งนิยมให้นับในช่วงเช้า 8.00-12.00 น. ถ้ามีความผิดปกติ ในตอนบ่ายให้มาพบแพทย์ทันที
Baskett และ Liston
การตรวจด้วยเครื่องเสียงความถี่สูง (Ultrasound)
การประเมินการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์โดยใช้เครื่องเสียงความถี่สูง
ความยาว ศีรษะ-ก้น (crown – rump length; CRL) เหมาะสำหรับการประเมินในไตรมาสแรก 7-12 wks.
ความกว้างของศีรษะทารก (biparietaldiameter,BPD)มีความถูกต้องมากที่สุดช่วงไ์ตรมาสท่ี 2 (12-28 wks.)
ความยาวรอบศีรษะ (head circumference,HC) ใกล้เคียงกับ BPD
การวัดเส้นรอบท้อง (abdominal circumference,AC) ไม่นิยมใช้เนื่องจากมีความคลาดเคลื่อนสูง
ความยาวของกระดูกต้นขา(femur length, FL) มีความถูกต้องมากที่สุดช่วง 12-26 wks.
การวัดปริมาณน้ำคร่ำด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
วัดตรงตำแหน่งที่มีน้ำคร่ำมากที่สุดโดยให้หัวตรวจตั้งฉากกับท้องของหญิงตั้งครรภ์
ถ้าพบขนาดของแอ่งน้ำน้อยกว่า 1 cm. ถือว่ามีน้ำคร่ำน้อย ถ้า> 8 cm. ถือว่ามีน้ำคร่ำมาก
วิธีวัด
แบ่งหน้าท้องเป็น 4 ส่วนลากเส้นตัดกันที่สะดือ
หาตำแหน่งที่น้ำคร่ำมากที่สุดโดยให้หัวตรวจอยู่ตามแนวยาวกับหน้าท้อง
ผลรวมทั้ง 4 ส่วนเรียกว่าดัชนีน้ำคร่ำ(Amniotic fluid index, AFI)
ค่าปกติเท่ากับ 5-25 cm. ในครรภ์ครบกำหนด
< 5 cm.น้ำคร่ำน้อย
มากกว่า 20 cm. น้ำคร่ำมาก
ข้อดีของคลื่นเสียงความถี่สูง
ปลอดภัยจากรังสี
ตรวจง่าย สะดวก รวดเร็ว
ไม่เกิดอาการแทรกซ้อน
สามารถตรวจได้เกือบทุกอวัยวะในร่างกายที่เป็นเนื้อเยื่อ
แสดงเน้ือเยื่อชนิดต่างๆ ให้เห็นรายละเอียดภายในเน้ือเยื่อ และขอบเขตที่แยกจากกันชัดเจน
ข้อเสียของคลื่นเสียงความถี่สูง
การตรวจจะให้ภาพที่มีคุณค่าในการวินิจฉัยหรือไม่ข้ึนอยู่กับความสามารถของผู้ใช้เครื่อง
ภาพที่ได้มีขีดจำกัดตามขนาดของเครื่องและตัวกลางเก็บภาพ
สภาวะผู้ป่วยมีความสำคัญต่อภาพที่ได้
คนอ้วนหรือคนที่มีแก๊สในท้องเยอะ
ตรวจกระดูกไม่ได้
การเตรียมหญิงตั้งครรภ์เพื่อการตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง
1.ดูแลให้ดื่มน้ำ 1-2 แก้วและกลั้นปัสสาวะไว้จนกว่าจะตรวจเสร็จ (กรณีอยู่ในไตรมาสท่ี 1
2.จัดท่านอนหงายศีรษะสูงเล็กน้อยอาจนอนตะแคงซ้ายเล็กน้อยหรือท่านอนหงายชันเข่ากรณีตรวจทางช่องคลอดและเปิดท้องหรือบริเวณที่จะตรวจ
นางสาวภูริชญา จักรพรรดิ์แก้ว 601101067