Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 องค์ประกอบและการบริหาร - Coggle Diagram
บทที่ 2 องค์ประกอบและการบริหาร
๑.การวางแผน (Planning)
ความสำคัญและความจำเป็น
๑. ช่วยประหยัดทรัพยากร เวลาและแรงงาน
๒. การปฏิบัติตามแผน ช่วยให้ปฏิบัติงานได้เร็ว และลดความผิดพลาดต่างๆได้
๓. ช่วยให้คาดการณ์ล่วงหน้าได้ถูกต้องหรือใกล้เคียง สามารถเผชิญกับปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น
๔. ช่วยให้การอำนวยการ การมอบหมายงาน การประสานงาน และการควบคุมประเมินผล
๕. ช่วยในการพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงานเป็นไปได้อย่างเหมาะสม
๖. ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของงานได้ดี
๗. ปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน ลดการทำงานซ้ำซ้อนรวมทั้งขจัดงานที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ออกไป
ประเภทของแผน
๑. แผนระยะสั้น ๑-๓ปี เช่น แผนการปฏิบัติงานประจำวัน
๓. แผนระยะยาวใช้เวลาตั้งแต่ ๑๐ปีขึ้นไป เช่น หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล
๒. แผนระยะกลาง ระยะเวลา ๕-๑๐ปี เช่น แผนพัฒนาบุคลากรในระยะ ๕ปี
๔. แผนฉุกเฉิน ขึ้นอยู่กับความจำเป็นและสภาพแวดล้อม เช่น กรณีที่ผู้ป่วยฉุกเฉิน ผู้ป่วยอุบัติเหตุ
๕. แผนโดยจำแนกลำดับขั้นของการจัดการ
๕.๑ แผนกลยุทธ์ (Strategic planning)
๕.๒ แผนโครงการ (Project planning)
๕.๓ แผนปฏิบัติการ (Operational planning)
กระบวนการวางแผน (planning process)
๑. การกำหนดวัตถุประสงค์ (Setting the objective)
๒. การรวบรวมข้อมูล (Collecting data)
๓. การวางแผน (Planning)
๔. การดำเนินงานตามแผน (Execution of the plan)
๕. การติดตามและปรับปรุงแผน (Monitoring of the plan)
๒. การจัดองค์การ (Organizing)
กลุ่มคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมกันดำเนินการหรือประกอบกิจกรรมอย่างใดอย่าหนึ่งเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมาย
กระบวนการจัดองค์กร
๑. จัดวิเคราะห์งานเพื่อก าหนดโครงสร้างองค์การ
๒. จัดท าแผนภูมิสายการบังคับบัญชาประจ าหน่วยงาน
๓. ชี้แจงให้บุคลากรทราบสายการบังคับบัญชา
๔. มอบหมายการท างาน
๕. จัดแบ่งประเภทผู้รับบริการออกเป็นประเภทต่าง ๆ
๖. มอบหมายงานแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาตามความรู้
๑. ความซับซ้อน
๒. การสร้างแบบมาตรฐา
๓. การรวมศูนย์อำนาจ
๓. การอำนวยการ (Directing)
การแนะนำ ชี้แนะ จูงใจ ให้ผู้ร่วมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานได้ตาม
กระบวนการอำนวยการ
๑. จัดให้มีการประสานงาน ในสายงานการปกครอง บังคับบัญชา
๒. จัดลำดับความสำคัญของงานก่อนหลัง
๓. มอบอำนาจหน้าที่กระจายหรือรวมอำนาจการบริหาร ออกคำสั่งด้วยวาจาหรือลายลักษณ์อักษร
ขอบเขตของการอำนวยการ
๑. การสั่งการ
๒. การคุมงาน
๓. การติดตามงาน
รูปแบบการสั่งงาน
๑. แบบออกคำสั่งโดยตรงหรือการออกคำสั่ง (Demand or Direct)
๒. แบบขอร้อง (Request)
๔. แบบอาสาสมัคร (Volunteer)
๓. แบบเสนอแนะ (Suggest)
หลักการสำคญ
๑. ต้องรู้แจ้งในข้อเท็จจริงให้แน่ชัด
๒. ต้องสั่งงานให้ตรงประเด็น
๓. ต้องสั่งงานให้เป็นที่เข้าใจ และต้องมีความแน่ใจ
๔. ต้องสั่งงานให้ทันต่อเวลาหรือเหตุการณ์
๕. จะต้องสั่งงานให้อยู่ในวิสัยที่จะปฏิบัติตามได้
๖. ต้องมอบหมายอ านาจให้เพียงพอแก่การปฏิบัติงาน
๗. ต้องกล้ารับผิดชอบ และยอมรับข้อผิดพลาดถ้าไม่เกิดผล
๔. การประสานงาน
(Co-ordinating)
การจัดระเบียบวิธีในการทำงานการติดต่อสื่อสารให้เกิดความคิด ความเข้าใจตรงกันในการร่วมมือปฏิบัติงานให้สอดคล้องทั้งเวลาและกิจกรรมที่จะต้องกระทำให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างสมานฉันท์และมีประสิทธิภาพ
๑. การประสานงานอย่างเป็นทางการ
หมายถึง การประสานงานแบบมีพิธีรีตรองที่ต้องปฏิบัติ เช่น มี
หนังสือติดต่อหรือแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษร
๒. การประสานงานอย่างไม่เป็นทางการ
หมายถึง การประสานงานแบบไม่มีพิธีรีตองเพียงแต่ทำความ
ตกลงให้ทราบถึงการที่จะปฏิบัติให้เป็นไปตามจังหวะเวลาเดียวกัน
ปัจจัยที่จะช่วยให้เกิดการประสานงานที่ดี
๑. มีแผนงานที่ดี มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่แน่นอน
๒. มีความรู้สึกและเจตคติที่ดีต่อกันและต่องาน
๓. ความสามารถของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกันมีการติดต่อสื่อสารที่ดี
๔. มีการประชุมพบปะหารือกันอยู่เสมอ
๕. ผู้บริหารหรือหัวหน้างานต้องเป็นผู้ที่เห็นคุณค่าของการประสานงานและเป็นผู้มองการณ์ไกล
ปัญหาและอุปรสรรค
๑. การจัดองค์การที่มีลักษณะซับซ้อนและเป็นองค์การที่ใหญ่มาก
๒. การปฏิบัติงานที่ไม่มีแผน
๓. การขาดมนุษย์สัมพันธ์ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน
๔. การมอบหมายงานที่ซ้ำซ้อนและก้าวก่ายหน้าที่กัน
๕. การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบไม่ชัดเจน
๖. ขาดการนิเทศที่ดี
๗. สภาพแวดล้อมของหน่วยงานที่แตกต่างกัน
วิธีการประสานงาน
๑. การประสานงานภายในองค์การ
๑.๑ การประสานงานในทีมสุขภาพ
๑.๒ การประสานงานในทีมการพยาบาล
๒. การประสานงานนอกองค์การ
๕. การควบคุม (Controlling)
การกำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนหรือแนวทางที่กำหนดไว้ เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการควบคุมงาน
๑. กำหนดเป้าหมายของการควบคุมงาน
๒. ก าหนดเกณฑ์และมาตรฐานในการควบคุมงาน
๓. เปรียบเทียบผลงานกับเกณฑ์และมาตรฐานที่ก าหนดไว้
๔. ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง
ประโยชน์
๑. ช่วยใช้ผู้ปฏิบัติงานมีความตื่นตัว มีความรู้ความเข้าใจในการทำงาน มีความรับผิดชอบ
๒. ประสิทธิภาพการทำงานและการทำงานให้ประสบผลสเร็จตามแผนงาน
๓. เกิดการค้นหาเทคนิคการควบคุมงานที่เหมาะสม น่าเชื่อถือ ใช้ประโยชน์ได้จร
ปัญหาการควบคุม
๑. จัดระบบงานไม่ดี ละเลยการจัดระบบงาน
๒. หัวหน้าหน่วยงานไม่เห็นความส าคัญ
๓. ไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ปฏิบัติงาน
๔. ไม่มีหลักเกณฑ์และมาตรฐานการควบคุมงาน
องค์ประกอบของการบริหาร
เป้าหมาย (Goal)
ปัจจัยการบริหาร
คน หรือ บุคลากร (Man)
เงิน หรือ งบประมาณ (Money)
วัสดุอุปกรณ์ (Materials)
เทคนิควิธี (Method)
เครื่องมือ (Machine)
ลักษณะของการบริหาร